กิจฺจ : (นปุ.) กรรมอัน...พึงทำ, กรรมอัน...ย่อม ทำ. วิ. กตฺตพฺพนฺติ กิจฺจํ. กริยเตติ วา กิจฺจํ. กรฺ กรเณ, ริจฺโจ. ที่ใช้เป็นกิริยาเป็น กิริยาคุมพากย์ได้.
กจฺฉติ : ก. อันเขาย่อมกล่าว, อันเขาย่อมทำ
กมฺม : (วิ.) อันเขาย่อมทำ, อันเขาทำ, เป็น เครื่องอันเขาทำ, ฯลฯ.
กรียติ : ก. อันเขาย่อมทำ
กิลเมติ : ก. ย่อมให้ลำบาก, ทำให้เหน็ดเหนื่อย
กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
คยฺห : (วิ.) อัน...ย่อมติเตียน, อัน...พึงติเตียน, พึงติเตียน. ครหฺ นินฺทายํ, ณฺย, ธาตฺวนฺเตน สห ยฺหาเทโส (แปลง ย พร้อมกับที่สุด ธาตุเป็น ยฺห).
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
ทุสฺสย : (วิ.) อัน...ย่อมนอนเป็นทุกข์, นอน เป็นทุกข์. วิ. ทุกฺเขน สียติ ทุสฺสโย. ข ปัจ. รูปฯ ๕๘๙.
เทยฺย : (วิ.) อัน...พึงให้, อัน...ควรให้, พึงให้, ควรให้. วิ. ทาตพฺพนติ เทยฺยํ. อัน...ได้ให้ แล้ว. อัน...ย่อมให้, อัน...จักให้ง วิ. อทียิตฺถ ทียติ ทิยิสฺสตี วาติ เทยฺยํ. ทา ทาเน, ณฺย. แปลง ณฺย กับ อา ที ทา เป็น เอยฺย. รูปฯ ๕๔๐.
นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
นิเสวติ : ก. ย่อมคบ, ย่อมติดตาม
เนติ : ๑. ก. นำไป, ย่อมแนะนำ ;
๒. อิต. การแนะนำ, ระเบียบ, กฎ
ปจฺจติ : ก. อันเขาหุงต้ม, ย่อมได้รับทุกข์
ปริกปฺเปติ : ก. ย่อมตั้งใจ, ย่อมดำริ, ย่อมกำหนด, ย่อมคาดคะเน
ปริกสฺสติ : ก. ย่อมลาก, ย่อมกวาดล้าง, ย่อมถอยกลับ
ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
ปิวติ : ก. ย่อมดื่ม
ผลติ : ก. ย่อมมีผล, ผลิดอกออกผล, สุก, แก่
ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
โภคฺค : (นปุ.) ของควรกิน, ของควรบริโภค, ของอันเขาได้กินแล้ว, ของอันเขาย่อมกิน, ของอันเข้าจักกิน. วิ. อภุชฺชิตฺถ ภุชฺชติ ภุชฺชิสฺสตีติ โภคฺคํ. ภุชฺ อชฺโฌหรเณ, โณฺย รูปฯ ๕๔๐.
มณฺฑป : (ปุ. นปุ.) โรงอันรักษาไว้ซึ่งรัศมีคือแสงแห่งพระอาทิตย์ วิ. มณฺฑา รวิรํส-โย ปาตีติ มณฺฑโป. โรงดื่มซึ่งรัศมีคือแสงแห่งพระอาทิตย์ คือยังแสงแห่งพระอาทิตย์ให้ฉิบหาย (บังแสง อาทิตย์ไว้). ปา ปาเน, อ. โรงอันชนย่อมประดับ วิ. มณฺฑิยติ ชเนหีติ มณฺฑ-โป. มณฺฑฺ ภูสเน, โป. ปะรำ, โรงปะรำ, มณฑป (เรือนยอดรูปสี่เหลี่ยม).
เมยฺย : (วิ.) อัน...พึงนับ, อัน...ได้นับแล้ว, อัน...ย่อมนับ, อัน...จักนับ. มา มาเน, ณฺย ปัจ. แปลง ณฺย กับ อา ที่สุดธาตุเป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐.
วกฺขติ : ก. ย่อมกล่าว, จะกล่าว, จักกล่าว
วชฺเชติ : ก. ย่อมเว้น
วายมติ : ก. ย่อมพยายาม
วิกฺกีณาติ : ก. ย่อมขาย
วิกมฺปติ : ก. ย่อมหวั่นไหว, ย่อมสั่นสะเทือน
วิชฺฌายติ : ก. ย่อมเพ่ง
วิชินาติ : ก. ย่อมชนะ
วินฺนธติ : ก. ย่อมผูก, ล้อมไว้
วิเนติ : ก. ฝึก, ย่อมแนะนำ
วิราเธติ : ก. ย่อมล้มเหลว
สงฺกปฺเปติ : ก. ย่อมดำริ
สมาธิยติ : ก. ย่อมถือเอา
สมาปชฺชติ : ก. ย่อมเข้าถึง
สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
สิชฺฌติ : ก. ย่อมสำเร็จ
สุปติ : กิต. ย่อมหลับ
สุรุสุรุ : (วิ.) ซูด ๆ. ซูด ๆ คือเสียงที่เกิดจากการซดน้ำแกง ผู้มีมารยาทดีย่อมไม่ซดน้ำแกงให้ดังซูด ๆ ทางพุทธศาสนาถือว่าเป็นการเสียกิริยา.
อชติ : ก. ย่อมถึง
อตติ : ก. ย่อมไป, - ถึง
อลุ : (ปุ.) หม้อน้ำย่อม ๆ.
อาทิ : (วิ.) ก่อน, แรก, ต้น, เป็นต้น, ปฐม, ถือเอา, อัน...ย่อมถือเอา.วิ. อาทียเตปฐมํคณฺหียเตติอาทิ.อาทียตีติวาอาทิ.อาปุพฺโพ, ทาอาทาเน, อิ.ส.อาทิ.
อิติ : (กิริยาอาขยาด) ย่อมเป็นไป. อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
อุปทิสฺสติ : ก. อันเขาย่อมแสดง, อันเขาย่อมเห็น, ปรากฏชัด
อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.