ตรุณ : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, ใหม่.
นวก : (วิ.) ต้น, แรก, ใหม่, สด, หนุ่ม. นว+ ก สกัด
ปตฺถาว : (ปุ.) โอกาส, ครั้ง, คราว, หน, รุ่น, ต้นเหตุ. ปปุพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว,โณ. ตฺสํโยโค.
มาณวิกา : (วิ.) สาว, รุ่น, รุ่นสาว.
ยุว ยุวาน : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, สาว, เยาว์ (อ่อนวัย รุ่นหนุ่ม รุ่นสาว). ยุ มิสฺสเน, อ, อุวาเทโส.
อธุนา : (อัพ. นิบาต) เดี๋ยวนี้, เมื่อกี้, ไม่นาน, ใหม่, ในกาลนี้, ในกาลเดี๋ยวนี้.
มาณว : (วิ.) หนุ่ม, รุ่น.
สุสุ : (วิ.) หนุ่ม, รุ่น. สสฺ ปาณเน, อุ. อสฺสุ. กัจฯและรูปฯ ๖๔๘ ตั้ง ตรุณ ศัพท์อาเทส เป็น สุสุ.
อภินว : (วิ.) ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, ใหม่.นุถุติยํ, อ, นโว.นโว.เอวอภินโว. อภิมโตปสตฺโถวานโวอภินโว.
นว : (วิ.) ใหม่, สด, หนุ่ม. นุ ถุติยํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นว, นวีน.
นูตน : ค. ใหม่, สด
กลภ กฬภ : (ปุ.) ช้างหนุ่ม, ช้างรุ่น, ลูกช้าง. วิ. กลียติ ปริมียติ วยสาติ กลโภ กฬโภ วา. กลฺ สงฺขฺยาเณ, อโภ. ส. กลภ.
กฬภ : ป. ช้างรุ่น
กุมาริกา, - รี : อิต. กุมารี, เด็กหญิง, เด็กหญิงวัยรุ่น, หญิงพรหมจารี
โกมาร, - รก, - ริก : ค. ผู้ตั้งอยู่ในวัยรุ่นหนุ่มสาว
โกมารี : อิต. กุมารี, หญิงรุ่นสาว, หญิงพรหมจารี
ขยาตีต : ค. ล่วงเลยไป, การหมดไปแล้วกลับคืนมาใหม่
เคหปฺปเวสน : นป. การเข้าสู่เรือน, พิธีทำบุญขึ้นบ้านใหม่
โคมุตฺต : (นปุ.) เยี่ยวโค, โคมูตร. คำโคมูตร ไทยใช้เป็นชื่อของเครื่องหมายสุดเรื่องของ หนังสือรุ่นเก่ามีรูปดังนี้๛
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
ตรุณี : (อิต.) หญิงรุ่น,หญิงสาว. ตรฺ ตรเณ, อุโณ, อิตฺถิยํ อี หรือลง ยุ ปัจ.แปลงเป็น อณ เป็น ตรณ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ แล้วลง อี อิต.
ถนก : นป. ถันเด็ก, นมเด็กสาววัยรุ่น
ทิกฺก : (ปุ.) ช้างหนุ่ม, ช้างรุ่น. อาทิ+กร ลบ อา ซ้อน ก.
ทิกฺกร : (ปุ.) เด็กหนุ่ม, เด็กรุ่น. อาทิ+ กร ลบ อา ซ้อน ก.
ทิกฺกรี : (อิต.) หญิงรุ่น, หญิงรุ่นสาว.
ทุสฺสคหณมงฺคล : นป. พิธีมงคลเสื้อผ้า, พิธีมงคลนุ่งห่มผ้าใหม่
นวกตร : ค. ใหม่กว่า, อ่อนกว่า
นวกภิกฺขุ : (ปุ.) ภิกษุผู้บวชใหม่, นวกภิกษุ (ผู้มีพรรษายังไม่ครบ ๕).
นวกมฺม : (นปุ.) การทำใหม่, การงานใหม่, กิจอัน... ทำใหม่, การก่อสร้าง.
นวกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมใหม่, ผู้ ควบคุมการก่อสร้าง, ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง. วิ. นวกมฺเมน นยุตโต นวกมฺมิโก. กัจฯ และรูปฯ ลง ณิกปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ลงอิก ปัจ.
นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ : (อิต.) ข้าวยาคูอัน บุคคลต้มแล้วด้วยน้ำนมอันปรุงแล้วด้วย เนยใสใหม่. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ต ตัป., วิเสสนบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
นวาวาส : (ปุ.) วัดใหม่, วัดสร้างใหม่.
ปฏิทสฺเสติ : ก. แสดงเฉพาะ, แสดงตน, ปรากฏใหม่
ปฏิทุกฺขาปนตา : อิต. ภาวะที่กลับทำให้เกิดมีความทุกข์ขึ้นใหม่อีก
ปฏินิทฺเทส : ป. การกลับชี้แจง, การวกกลับมาอธิบายเรื่องใหม่อีก
ปฏิวินิจฺฉินติ : ก. วินิจฉัยใหม่, กลับพิจารณาอีก
ปฏิวิรูหติ : ก. งอกขึ้นมาใหม่, กลับงอกงามแล้ว
ปฏิสนฺทหติ : ก. สืบต่อ, ต่อเนื่อง, เกิดใหม่, ปฏิสนธิ
ปฏิสนฺธิ : อิต. ปฏิสนธิ, การสืบต่อ, การถือกำเนิดใหม่, การเกิดใหม่
ปฏิสนฺธิยติ : ก. ปฏิสนธิ, สืบต่อ, เกิดใหม่
ปฏิสมฺมชฺชติ : ก. กวาดอีก, กลับกวาดใหม่
ปุนทิวส : ป., นป. วันใหม่, วันรุ่งขึ้น, วันพรุ่ง
ปุนพฺภว : ป. ภพใหม่, การเกิดอีก
ปุนวาร : ป. คราวต่อไป, ครั้งใหม่
โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
ภิงฺก : (ปุ.) ช้างรุ่น วิ. มาตาปิตูหิ ภริตพฺพตฺตา ภิงฺโก. ภรฺ โปสเน, อ. แปลง ภร เป็น ภิงฺก. แปลว่า กบ เขียด ก็มี.
ยุน ยูน : (ปุ.) ชายหนุ่ม, ชายรุ่น, คนหนุ่ม, คนรุ่น. ยุวศัพท์ แปลง อุว เป็น อุน, อูน รูปฯ ๖๔๙.
ยุวชน : (ปุ.) คนหนุ่ม, คนรุ่น, ยุวชน, เยาวชน.
ยุวตี : (อิต.) หญิงรุ่น, หญิงสาว, ยุวดี, ยุพดี, เยาวดี, เยาพดี.