ปีฐ : นป. ตั่ง, ที่นั่ง, แคร่, ร้าน, ที่วางของขาย
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
กกฺการี : (อิต.) ฟัก, แฟง, ฟักเหลือง, (ฟักทอง), ฟักทอง, แตงกวา, แตงโม, แตงใหญ่ (แตงร้าน) บวบขม, ตะกั่วขาว. กุกฺ อาทาเน, อโร, อุสฺส อตฺตํ.
กปฺปกสาลา : (อิต.) ร้านตัดผม.
กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
คนฺธาปณ : ป. ร้านขายของหอม
เจลาล : ป. แตงร้าน, แตงกวา
เตลโกฏฺฐาคาร : ป., นป. คลังน้ำมัน, ที่เก็บน้ำมัน, โรงน้ำมัน, ร้านน้ำมัน
ปณคณฺฐิ : ป. ร้านค้า
ปานมณฺฑล : นป., ปานาคาร ป., นป. ร้านเครื่องดื่ม, โรงดื่ม
ปาปณิก : ป. เจ้าของร้าน, นายห้าง
โปตฺถกาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายหนังสือ, ร้านหนังสือ.
ผลาปาณ : ป. ร้านขายผลไม้
เภสชฺชาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายยา, ร้านยา.
โภชนาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายอาหาร, ร้านอาหาร.
โสณฺฑา : (อิต.) สถานที่ทำไว้เพื่อดื่มสุรา, โรงสุรา, ร้านสุรา. สนฺ ทาเน, อสฺโสตฺตํ, วณฺณวิกาโร จ.
อฏฺฏก : (ปุ.) ร้าน, นั่งร้าน, ห้าง (กระท่อมที่ทำไว้เฝ้าสวนหรือ ที่พักเล็กๆ ชั่วคราวที่สำหรับคนประจำคอยดูเหตุการณ์).
อนฺตราปณ : (ปุ.) ร้านตลาด.อนฺตร+อาปณ.
อเวหาสกุฏิ : อิต. กุฎีไม่เป็นร้าน, กุฎีที่ไม่แขวนอยู่ในอากาศ คือ กุฎีไม่สูง
อาปณ : (ปุ.) ที่เป็นที่มาเป็นไป, ร้านเป็นที่มาแผ่ร้านขายของ, ตลาด, ร้านตลาด, การค้าขายวิ. อาปณายนฺเตพฺยวหารยนฺเตอสฺมินฺติอาปโณ.อาปุพฺโพ, ปณฺวฺยวหาเร, โณ.เป็นนปุ.บ้าง.ส. อาปณ.
อาปณิก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ในร้านเป็นที่มาแผ่, คนผู้เป็นเจ้าของแห่งร้านตลาด, คนผู้ซื้อและขาย, พ่อค้า.ส. อาปณิก.
อาปานมณฺฑล : นป. ร้านเหล้า, โรงสุรา
อามตฺติกาปณ : นป. ร้านขายเครื่องปั้นดินเผา
อาวารี : ป. ร้านค้า, ร้านขายของ
อินฺทวารุณิ, อินฺทวารุณี : อิต. แตงร้าน, แตงกวา
กฐินตฺถาร : ป. การกรานกฐิน, การขึงไม้สะดึง คือเอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรขึงที่ไม้สะดึงและทำจีวรให้สำเร็จ, การทำจีวรให้สำเร็จด้วยประการนั้นเรียกว่าการกรานกฐิน
จกฺกภญฺชนี : ค. ผู้หักรานจักร, ผู้ทำลายความดีความเจริญ
จกฺกเภท : ป. การหักรานจักร, การกำจัดอำนาจ