วฺยายาม : ป .ความพยายาม
นิกฺกมติ : ก. ก้าวต่อไป, พยายาม
ปทหติ : ก. เริ่มตั้ง, ลงมือทำ, ทำความเพียร, พยายาม, เผชิญ, ต้านทาน, มุ่งไปข้างหน้า
ปริยุฏฺฐาติ : ก. ลุกขึ้น, แผ่ซ่าน, พยายาม
พฺยาวฏ พฺยาวต : (วิ.) ขวน ขวาย, พยายาม, กระ ตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วฏฺ เวฐเน, อ. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ต.
ยุญฺชติ : ก. ประกอบ, ก่อ, พยายาม
อนุปริสกฺกติ : ก. เวียนรอบๆ, ตะเกียกตะกาย, พยายาม
อารพฺภติ, อารภติ : ก. ทำ, ปรารภ, เริ่มต้น; พยายาม ; ร้ายกาจ, ประหาร, ต้องโทษ
อิริยติ : ก. เคลื่อนไป, ย้ายไป, พยายาม, ปฏิบัติ
อุฏฐหติ : ก. ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, ก่อ, พยายาม, ขยัน
อุตฺติฏฐติ : ก. ลุกขึ้น, ยืนขึ้น; พยายาม
อุปกฺกมติ : ก. ก้าวเข้าไปใกล้, พยายาม, ลงมือทำ
อุสฺสุกฺกติ : ก. ความขวนขวาย, พยายาม
เอสติ : ก. ค้นหา, แสวงหา, พยายาม
กายปโยค : ก. การประกอบทางกาย, ความพยายามทางกาย
โครณ : นป. ความพยายาม, การฝึกฝน
ฆฏติ : ก. พยายาม, สืบต่อ, ต่อประสาน, ประยุกต์
ฆฏยติ : ก. ให้พยายาม, ให้สืบต่อ
ฆฏิต : ค. อันพยายามแล้ว, อันสืบต่อแล้ว
ฆฏียติ : ก. อันเขาพยายาม, อันเขาสืบต่อ
ฆเฏติ : ก. พยายาม, สืบต่อ, ต่อเนื่อง
ฉนฺทิก : ค. มีความพอใจ, มีความพยายาม
ฉนฺทีกต : อิต. มีความพอใจ, มีความพยายาม
ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
ทฬฺหนิกฺกม : ค. มีความเพียรมั่นคง, มีความพยายามเด็ดเดี่ยว
นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
ปยตฺต : ค. ผู้ขวนขวาย, ผู้พยายาม, ผู้ระมัดระวัง, ผู้เอาใจใส่
ปยตน : (นปุ.) ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ปปุพฺโพ, ยตฺ ปฏิยตเน, ยุ.
ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
ปโยควิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งความพยายาม, ความไม่สำเร็จแห่งวิธีการ, การประกอบผิดทาง
ปโยคสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมแห่งความพยายาม, ความสำเร็จแห่งการประกอบความพยายาม
ปโยคสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งความพยายาม, ความหมดจดแห่งการประกอบความพยายาม
ปโยคหีน : ค. ซึ่งเสื่อมจากความพยายาม, ซึ่งบกพร่องในการประกอบความพยายาม
ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
ปริยุฏฺฐาน : นป. การลุกขึ้น, การพยายาม, การครอบงำ
ปริสกฺกติ : ก. พยายาม, ทดลอง, ไต่สวน
ปริสกฺกน : นป. ความพยายาม, ความตะเกียกตะกาย, ความทดลอง
ปุถุชฺชนกลฺยาณก : ป. กัลยาณปุถุชน, คนที่พยายามทำความดี
ปุพฺพปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วก่อน, ความประกอบก่อน, ประโยคแรก, บุพประโยค บุรพประโยค (ความพยายามเบื้องต้นของการทำ).
ปุริสปรกฺกม : ป. การก้าวไปข้างหน้าของบุรุษ, ความพยายามของบุรุษ
มาน : (ปุ.) การถือตัว, ความถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความแข็ง, ความพยายาม, ความกล้า, ความตั้งใจจริง, ความสำคัญใจ, ใจ, ดวงใจ, จิตใจ. มนฺ ญาเณ, โณ. มาน ปูชายํ, อ.
ยตฺต : กิต. พยายามแล้ว, สำรวมแล้ว
ยตติ : ก. พยายาม, อุตส่ห์; สำรวม
ยตน : นป. ความพยายาม, ความขวนขวาย
วายมติ : ก. ย่อมพยายาม
วายาม : ป. ความพยายาม
อนายูทนฺต : กิต. ไม่พยายาม, ไม่ขวนขวาย
อนายูหน : นป. ความไม่พยายาม, ความไม่ขวนขวาย
อนุปริสกฺกน : นป. การเวียนรอบ, การตะเกียกตะกาย; ความพยายาม
อปฺโปสฺสุกฺก : ค. มีความขวนขวายน้อย, ซึ่งไม่พยายาม