วณฺณ : ป. ผิว, สี, ชนิด, วรรณะ
ขนฺธาวรรณ : (นปุ.) กองทัพ, พลับพลาชัย.
ธูมปานาวรรณ : (นปุ.) ซองบุหรี่.
สีลาวรรณ : (นปุ.) เครื่องกำบังศีรษะ, หมวก.
เสตวรรณ เสตหฺถี : (ปุ.) ช้างเผือก.
วณฺณกสิณ : นป. วรรณกสิณ, การเจริญสมาธิโดยการเพ่งสี
ขตฺติย : (ปุ.) พระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าอยู่หัว, กษัตริย์ เป็นชาตินักรบ เป็นวรรณที่ ๑ ในวรรณ ๔, เจ้านาย. วิ. ขตฺตสฺส อปจฺจํ ขตฺติโย. ณิก ปัจ. แปลง ก เป็น ย รูปฯ ๓๕๓.
โตฏก : (นปุ.) โตฏกะ ชื่อฉันท์วรรณพฤทธิ์ มียี่สิบสองคำ.
พฺราหฺมณวณฺณี : ค. มีวรรณพราหมณ์
ภิกฺขุ : (ปุ.) ภิกษุ ชื่อของคนวรรณพราหมณ์ระยะที่ ๔ ของชีวิต ยังชีพโดยภิกขาจาร.
เวสฺส : ป. แพศย์, วรรณพราหมณ์พวกหนึ่ง, พ่อค้า
วณฺณทาสี : อิต. หญิงแพศยา
วณฺณนา : อิต. การพรรณนา, การชี้แจง
วณฺณวนฺตุ : ค. มีผิวงาม
กุมุทวณฺณ : ค. มีวรรณะดังดอกโกมุท, มีผิวพรรณเหมือนดอกบุณฑริก, มีสีเหมือนดอกบัวขาว
คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
กากวณฺณ : ๑. ป. พระนามของกษัตริย์พระองค์หนึ่งในลังกา;
๒. ค. มีสีเหมือนกา, มีผิวพรรณดำ
อภิรูปวณฺณอภิรูปฉวี : (วิ.) ผู้มีผิวงดงาม, ผู้มีผิวพรรณงดงาม.
อภิรูปวณฺณ อภิรูปฉวี : (วิ.) ผู้มีผิวงดงาม, ผู้มี ผิวพรรณงดงาม.
พกุลวณฺณ : ค. ซึ่งมีสีเหมือนสีของดอกพิกุล
มุขวณฺณ : ป. รูปร่างหน้าตา
สวณฺณนา : อิต. การพรรณนา, การอธิบาย, การแสดง
เหมวณฺณ : ค. มีสีทอง
อติวณฺณติ : ก. ชนะ, ดีกว่า
อรุณวณฺณ : ค. มีสีแดงเรื่อ, เป็นสีแดง
กปิกจฺฉุ กปิตจฺฉุ : (ปุ.) อเนกคูณคัน, อเนกคุณคัน, อเนกคุณ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทย. วิ กปินํ กจฺฉุ ชเนตีติ กปิกจฺฉุ. ณุ ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ก เป็น ต.
กลิงฺค : (ปุ.) นกกระแวน, นกกาแวน, นก แซงแซวหางบ่วง, นกแพน ก็เรียก. วิ. กาฬวณฺณตาย กุจฺฉิตํ ลิงฺคํ ยสฺส โส กลิงฺโค.
กเสรุ : (ปุ.) กระจับ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ขึ้น ลอยอยู่ในน้ำ มีฝักเป็นสองเขาคล้ายศรีษะ ควาย เมื่อแก่มีสีดำ ตกอยู่ที่พื้นดิน เนื้อ ข้างในขาว มีรสมัน, วิ. เก สยตีติ กเสรุ. กปุพฺโพ, สี สเย, รุ.
กามวณฺณี : ค. ผู้มีผิวพรรณงามน่ารัก
กาลกณฺณิ กาลกณฺณี : (ปุ.) คนมีหูดำ, คน ทำนิสัยของตนเหมือนสิ่งที่มีวรรณะดำ, คนกาลกรรณี, คนกาลกิณี.
กาลี กาฬี : (วิ.) มีวรรณะดำ, เสนียด, จัญไร.
กาฬกา : (อิต.) กระรอก, กระแต. กาฬวณฺณ- ตาย กาฬกา.
กึชจฺจ : ค. ผู้มีชาติอย่างไร, เป็นวรรณะอะไร, เกิดมาจากไหน
กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
โกธภกฺข : ค. (ยักษ์) มีความโกรธเป็นภักษา (ธรรมดายักษ์ยิ่งโกรธก็ยิ่งมีวรรณะเอิบอิ่มขึ้นดุจได้กินอาหาร)
ขตฺตช : ป. ผู้เกิดแต่วรรณะกษัตริย์ (แม่เป็นศูทร พ่อเป็นกษัตริย์)
ขตฺติยช : ป. ผู้เกิดแต่วรรณะกษัตริย์ (แม่เป็นพราหมณี)
คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
โคกณฺฏก : (ปุ.) โคกกระสุน ชื่อไม้เลื้อย ลูก เป็นหนาม ใช้ทำยา, กระจับ ชื่อพรรณไม้ ใบสีเขียว อาศัยใบและก้านเป็นทุ่นลอย อยู่ในน้ำ มีฝักคล้ายเขาควาย เมื่อแก่มีสีดำ เนื้อในสีขาว เป็นอาหารมีรสมัน วิ. ควํ กณฏโก โคกณฺฏโก. ปฐวึ วา ลคฺคคณฺฏโก โคกณฺฏโก, เอกักขรโกสฏีกา วิ. โคสฺส สุริยสฺส กณฺฏโก โคกณฺฏโก.
จณฺฑาล : (ปุ.) คนเลว, คนต่ำ, คนชั้นต่ำ, คนดุ, ฯลฯ, คนจัณฑาล (ลูกของคนที่พ่อแม่ต่างวรรณะกัน).
จิตฺตก : (ปุ.) จิตมูลเพลิง เจตมูลเพลิง ชื่อ- พรรณไม้เล็กๆ ใช้ทำยาไทย. จิตฺ หึสา- คนฺเธสุ, ณฺวุ แปลง ต เป็น ตฺต
จิตฺรตณฺฑุลา : (อิต.) พิลังกาสา ชื่อพรรณไม้ ชนิดหนึ่ง ผลกลมเล็กๆ ใช้ทำยาไทย วิ. จิตฺรานิ ตณฺฑุลานิ ยสฺสา สา จิตฺรตณฺฑุลา
ฉวิวณฺณ : ป. ผิวพรรณ, สีของผิว
ชีวสมุน : (นปุ.) ชบา, กุหลาบ, สะเอ้ง ชื่อ พรรณไม้ชนิดหนึ่ง. วิ. ชีวตฺถํ สุมนํ ชีวสุมนํ.
ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
ตกฺการี : (อิต.) คนทา ชื่อพรรณไม้สกุลปลา ไหลเผือกรากใช้เป็นยาแก้ไข้ในกลุ่มยา ๕ ราก โบราณเรียกว่ายาแก้ว ๕ ดวง หรือยา แก้ว ๕ ราก วิ. ตํ ตํ โรคขยนาทิกํ กโรตีติ ตกฺการี. ณีปัจ.
ติณฺห : (วิ.) กล้า, แข็ง, กล้าแข็ง, แข้มแข็ง, แหลม, เฉียบแหลม, คม, คมกล้า. ติชฺ นิสาเน, โห, วณฺณวิกาโร.
ติลพีช : (นปุ.) ติลพืช ชื่อสาหร่ายชนิดหนึ่ง วิ. ติลพีชปฺปมาณํ ชลสณฺฐตํ นีลาทิ- วณฺณยุตฺตํ ติลพีชํ.
ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
เทวทารุ : (ปุ.) เทพทารู เทพทาโร ชื่อพรรณ ไม้ชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร เปลือกหอมใช้ปรุงอาหารรากใช้ทำยาไทย วิ. เทวานํ ตรุภูตตฺตา เทวทารุ.