วาต : ป. ลม
จิตฺตกมฺม : (นปุ.) การทำให้งาม, กรรมอันงาม, กรรมอันวิจิตร,จิตรกรรม.ไทยใช้จิตรกรรม ในความหมายว่า ศิลปการวาด เขียนศิลป การวาดภาพ ภาพเขียนที่สวยงาม.
จิตฺตกร : (ปุ.) คนผู้ทำให้วิจิตร, ช่างเขียน, ช่าง วาดเขียน, ช่างวาดภาพ, จิตรกร. วิ. จิตฺตํ กโรตีติ จิตฺตกโร. จิตฺตปุพโพ, กรฺ กรเณ, อ.
จิตฺตพิมฺพมุขี : ค. ผู้มีใบหน้างามดุจรูปวาด
จิตฺเตติ : ก. วาด, เขียน, ทำให้วิจิตร, ทำให้เป็นสีต่างๆ
ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
ปุญฺฉน : นป., ปุญฺฉนี อิต. การเช็ด; การถู, การชำระ, การกวาด; ผ้าเช็ดตัว
สมฺมชฺชน : (นปุ.) การทำให้สะอาด, การทำความสะอาด, การชำระ, การกวาด, การเช็ด, การถู. สํปุพฺโพ, มชฺชฺ โสเจยฺเย, ยุ, อ.
สมฺมชฺชา : (อิต.) การทำให้สะอาด, การทำความสะอาด, การชำระ, การกวาด, การเช็ด, การถู. สํปุพฺโพ, มชฺชฺ โสเจยฺเย, ยุ, อ.
อาลิขติ : ก. ขีดเส้น, วาดรูป
อาเลข : ป. การวาด, ภาพวาด
อุมฺมชฺชน : (นปุ.) การทำให้สะอาด, การกวาด, การปัดกวาด, การขัดสี, การเช็ดถู. อุปุพฺโพ, มชฺช สุทฺธิยํ, ยุ. อุมฺมตฺต
วาตชว : ค. ซึ่งรวดเร็วเหมือนลม
วาตณฺฑ : นป. ลูกอัณฑะโต
วาตปาน : นป. ที่เป็นที่ดื่มลม, หน้าต่าง
วาตมิค : ป. เนื้อสมัน
วาตวุฏฺฐิ : อิต. ลมและฝน
วาตเวค : ป. กำลังลม
ทฺวารวาตปาน : นป. ประตูและหน้าต่าง
นาสาวาต : ป. ลมทางจมูก, ลมหายใจ
นิวาตวุตฺตี : ค. ซึ่งสุภาพ, ซึ่งอ่อนน้อม, ซึ่งเชื่อฟัง
ปพฺพวาต : ป. โรคลมเสียดยอกตามข้อ, โรคปวดตามข้อ
ปพฺพวาตโรค : (ปุ.) โรคลมเข้าข้อ.
ปวาต : นป. กระแสลมอ่อน
ยุคนฺตวาต : (ปุ.) ลมประลัยกัลป์.
วาติ : ก. ฟุ้งไป, พัด
สตฺถกวาต : ป. ลมจุกเสียด
อติวาต : ป. ลมแรง, พายุ
อโธคมวาต อโธคมวาย : (ปุ.) ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมพัดลงในเบื้องต่ำ.
อวาต : ค. ไม่มีลม
อวาตปานก : ค. ไม่มีช่องกินลม, ไม่มีหน้าต่าง
อุทฺธคมวาต อุทฺธงฺคมวาต : (ปุ.) ลมไปใน เบื้องบน (ลมพัดแต่เท้าถึงศรีษะ).
อุทรวาต : ป. ลมในท้อง, การปวดท้อง
อุโรคมวาต : (ปุ.) ลมอันไปที่อก, ลมหายใจ.
อุคฺคาร : (ปุ.) การเรอ, การราก, การอาเจียน, การอ้วก (กิริยาที่สำรอกอาหารออกจาก ปาก). วิ. อุคฺคุณาติ อุคฺคมติ อุทฺธํคม วาต วูฬฺหวเสนาติ อุคฺคาโร. อุปุพฺโพ, คุ, อุคฺคเม, โณ. อถวา, คิรฺ นิคิรเณ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็น อา).
อุทฺทาล อุทฺทาลก : (ปุ.) ราชพฤกษ์, คูน. วิ. วาต มุทฺทาลยตีติ อุทฺทาโล. อุปุพฺโพ, ทลฺ วิทารเณ, โณ. คำหลัง ก สกัด.
กมฺมชวาต กมฺมชฺชวาต : (ปุ.) ลมเกิดแล้วแต่ กรรม ลมอันเกิดแต่กรรม, ลมเกิดแต่ กรรม, ลมเบ่ง, กัมมชวาต กัมมัชชวาต กรรมัชวาต (ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอด บุตร). ส. กรฺมชวาต.
กลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, คลื่น, ระลอกใหญ่, คลื่น ใหญ่. วิ. วาตเวเคน สมุทฺทโต กลฺลติ นทตีติ กลฺโลโล. กลฺลฺ สทฺเท, โอโล. ส. กลฺโลล.
กุณาล : (ปุ.) กุณาละ ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ วิ. กุณาลสกุณา พหโว เอตฺถ สนฺตีติ กุณาโล. วาตสมุฏฺฐิ ตา วีจิมาลา เอตฺถ กุณนฺติ นทนฺตีติ วา กุณาโล.
โกฏฺฐาสย : (ปุ.) โกฏฐาสยะ ชื่อลมในกาย อย่างที่ ๔ ใน ๖ อย่าง, ลมในไส้. วิ. โกฏฺเฐ อนฺเตเสติ ติฏฺฐตีติ โกฏฺฐาสโย. โกฏฺฐปุพฺโพ, สี สเย, อ. อัฏฐกถาแก้เป็น อนฺโตวาต.
โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
เตจีวร : นป. ไตรจีวร; สังฆาฏิ (ผ้าพาด), อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม), อันตรวาสก (ผ้านุ่ง)
พิลงฺค : (ปุ.) น้ำผักดอง, น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม (เครื่องกินกับข้าวของแขก), น้ำพริก. วิ. วาตํ ลงฺคติ หีนํ กโรตีติ พิลงฺโค. วาตปุพฺโพ, ลคิ คมเน, อ, วาตสฺส พิ. วิเสเสน ลงฺ-คตีติ วา พิลงฺโค.
มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
สงฺฆาฏิ : อิต. ผ้าพาดบ่า
สีกร : (ปุ.) ฝนตกประปราย วิ. สีตํ กโรตีติ สีกโร. สิญฺจตีติ วา สีกโร. สิจฺ ปคฺฆรเณ, อโร, จสฺส โก. วาตวเสน วา ตโต ตโต สรตีติ สีกโร. สรฺ คติยํ, อ, อสฺส อี, มชฺเฌ กฺอาคโม จ. ส. ศีกร, สีกร.
อสพนฺธน : นป. ผ้าพาดบ่า, ผ้าสไบ.
อสฺสตร : (ปุ.) ม้าดี, ม้าประเสริฐ, ม้าอัสดร.วิ.ตสฺสอสฺสสฺสเภโท วิเสโส อสฺสตโร. อสฺสํตรตีติวาอสฺสตโร.อสฺสปุพฺโพ, ตรฺอติกฺกมเน, อ.อสฺสสทฺโทวาตรปจฺจโย.ส.อศฺวตร.
อินฺทีวร : (ปุ.) ต้นราชพฤกษ์, ต้นคูน. วิ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรติ วาตหณเนติ อินฺทีวโร. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อีวโร.
อุทฺธคม อุทฺธงฺคม : (ปุ.) ลมไปในเบื้องบน, ลมพัดขึ้นเบื้องบน, อุทธังคมวาต ชื่อ ลม ในกายอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. อุทฺธํปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ.