Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ษี , then ฏี, ศี, ษิ, ษี, สี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ษี, 471 found, display 1-50
  1. สี : (อิต.) สุนัขตัวเมีย, นางหมา.
  2. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  3. สิตรสำ : (ปุ.) สิตรังษี ชื่อของพระจันทร์ พระจันทร์.
  4. หิมรสิ : (ปุ.) หิมรังสี หิมรังษี ชื่อของพระจันทร์ชื่อ ๑ ใน ๑๔ ชื่อ, พระจันทร์, ดวงจันทร์. ส. หิมรศฺมิ.
  5. สีกร : (ปุ.) ฝนตกประปราย วิ. สีตํ กโรตีติ สีกโร. สิญฺจตีติ วา สีกโร. สิจฺ ปคฺฆรเณ, อโร, จสฺส โก. วาตวเสน วา ตโต ตโต สรตีติ สีกโร. สรฺ คติยํ, อ, อสฺส อี, มชฺเฌ กฺอาคโม จ. ส. ศีกร, สีกร.
  6. กฎสิ, - สี : อิต. สุสาน, ป่าช้า
  7. กสิ, - สี : อิต. การเพาะปลูก, การไถ, การหว่าน
  8. สีมนฺต : (ปุ.) ผมที่แสกกลางศรีษะหญิง, แสกผม. วิ. สยฺนติ เอตฺถ อูกา กุสุมาทโยติ สีมนฺติ. สี สเย, อนฺโต, มชฺเฌ มฺอาคโม. ส. สีมนฺต.
  9. สีตา : (อิต.) รอยไถ วิ. เสนฺติ ฆราวาสํ เอตา ยาติ สีตา, นงฺคลเลขา. สิ พนฺธเน. โต, ทีโฆ. ส. สีตา.
  10. สีตาลุ : (วิ.) มีความหนาวเป็นปกติ วิ. สีตํ อสฺส ปกติ สีตาลุ อาลุ ปัจ. พทุลตัท.
  11. สีทนฺตร : (ปุ.) สีทันดร ชื่อน่านน้ำที่ล้อมเขาพระสุเมรุ.
  12. สีมนฺตินี : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง. สีมนฺต+อินีปัจ.
  13. สีหล สีหฬ : (ปุ.) สีหล สีหฬ ชื่อชนบทพิเศษ ของอินเดีย คือประเทศสีหล ประเทศลังกา ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา. วิ. สีหํ ลนฺติ กณฺหนฺตีติ สีหลา. ปุพฺพปุริสา สีหลา, ตพฺพํเส ชาตา สพฺเพปิ เอตรหิ สีหลา นาม.
  14. สีหาสน : (นปุ.) ราชอาสน์ทอง วิ. สีหากติปฺปธานํ อาสนํ สีหาสนํ, ราชูนํ สุวณฺณขฺจิตํ อาสนํ.
  15. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  16. ฏีกาจริย : ป. พระฎีกาจารย์, อาจารย์ผู้แต่งหนังสืออธิบายอรรถกถา
  17. สีติ : (อิต.) ความหนาว, ความเย็น. สิ เสวายํ, ติ, ทีโฆ.
  18. สีติภาว : ป. ความเย็น, ความสงบ
  19. สีติภูต : ค. เป็นผู้เย็น, เป็นผู้เงียบ, เป็นผู้สงบ
  20. สีติภูติ : (วิ.) เป็นธรรมชาติเย็นเป็นแล้ว.
  21. สีทน : นป. การจม
  22. สีปที : (ปุ.) คนเท้าปุก, คนเท้าทู่. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  23. สีลน : นป. การฝึกหัด, การปฏิบัติ, การละเว้น
  24. สีลวนฺตุ : (วิ.) ผู้มีศีล วิ. สีลํ อสฺส อตฺถิตี สีลวา. วนฺ ตุ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  25. สีลาฆา : (อิต.) การพรรณา, ความพรรณา.
  26. สีลาวรรณ : (นปุ.) เครื่องกำบังศีรษะ, หมวก.
  27. สีสก : (นปุ.) จันทร์แดง, สันตะวา ขึ้นในน้ำกินได้. เป็นปุ. ก็มี.
  28. สีสกฎาห : (นปุ.) กะโหลกศีรษะ.
  29. สีสกปาล : (ปุ.) กะโหลกศีรษะ.
  30. สีสกปาล, สีสกฏาห : ป. กะโหลกศีรษะ
  31. สีสการ : (ปุ.) ช่างดีบุก, ฯลฯ.
  32. สีหล : ป. ชาวสิงหฬ
  33. โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
  34. โคกณฺฏก : (ปุ.) โคกกระสุน ชื่อไม้เลื้อย ลูก เป็นหนาม ใช้ทำยา, กระจับ ชื่อพรรณไม้ ใบสีเขียว อาศัยใบและก้านเป็นทุ่นลอย อยู่ในน้ำ มีฝักคล้ายเขาควาย เมื่อแก่มีสีดำ เนื้อในสีขาว เป็นอาหารมีรสมัน วิ. ควํ กณฏโก โคกณฺฏโก. ปฐวึ วา ลคฺคคณฺฏโก โคกณฺฏโก, เอกักขรโกสฏีกา วิ. โคสฺส สุริยสฺส กณฺฏโก โคกณฺฏโก.
  35. ตปสี ตปสฺสี : (ปุ.) คนมีความเพียรเผาบาป, คน มีตบะ, ภิกษุ. วิ. สี ปัจ. ศัพท์หลังแปลง สี เป็น สฺสี อิต. ตปสฺสินี นปุ. เป็น ตปสฺสิ.
  36. เตชสี เตชสฺสี : (วิ.) ผู้มีอำนาจ, ผู้มีเดช (อำนาจ). วิ. เตโช อสฺส อตฺถีติ เตชสี เตชสฺสี วา. สี ปัจ. ศัพท์หลังซ้อน สฺ หรือ แปลง สี เป็น สฺสี.
  37. ยสสฺสี : (วิ.) มียศ วิ. ยโส อสฺส อตฺถีติ ยสสฺสี. ยส+สี ปัจ. แปลง ส เป็น สฺส. เป็น ยสสี โดยไม่แปลง ส บ้าง.
  38. ฆสติ : ก. ขัด, สี, ถู, บด; ยินดี, ชอบใจ, ร่าเริง
  39. จาตุทฺทสี : (วิ.) (ดิถี.) ที่สิบสี่ วิ. จตุทฺทสนฺนํ ปูรณี จาตุทฺทสี อี ปัจ. ปูรณตัท.
  40. ตุมฺหาทิส ตุมฺหาทิสี : (วิ.) ผู้เช่นท่าน, เห็น ราวกะว่าซึ่งท่าน, เห็นราวกะว่าท่าน. วิ. ตุมฺห วิย ทิสฺสตีติ ตุมฺหาทิโส ตุมฺหาทิสี วา. ตุมฺหบทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. รูปฯ ๕๗๒.
  41. ทกสีตลิก : (นปุ.) จงกลนี. วิ. ทกํ สีตลํ กโรตีติ ทกสีตลิกํ. ณิก ปัจ.
  42. ปสีทน : นป., ปสีทนา อิต. ความเลื่อมใส, ความศรัทธา, ความยินดี, ความสะอาดความบริสุทธิ์
  43. ปึสติ : ก. บด, สี, ขยำ
  44. พาราณสี : (อิต.) พาราณสี ชื่อพระนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ.
  45. วณฺณ : ป. ผิว, สี, ชนิด, วรรณะ
  46. สุทสฺสี : (ปุ.) สุทัสสี ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๑๕ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุทัสสีพรหม ชื่อพรหมผู้เป็นสิ่งต่าง ๆ ได้โดยความสะดวก วิ. สุเขน ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสี ชื่อพรหมผู้บริบูรณ์ดีในการเห็นมากยิ่งกว่าสุทัสสพรหม.
  47. อนุมชฺชติ : ก. ถู, สี, ขัดสี, ลูบ, ทุบตี
  48. อโนมทสฺสี : (ปุ.) อโนมทัสสีพระนามพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง.
  49. อุคฺฆเสติ : ก. ถู, บด, ขัด, สี
  50. อุจฺฉาเทติ : ก. ถู, สี
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-471

(0.0598 sec)