สลาฎ : (วิ.) ดิบ. สลาฎฺ พาเ ลฺย, อุ.
สลากา : (อิต.) ซี่, ซี่ไม้, ติ้ว, ตั๋ว, สลาก ฉลาก คือ สิ่งที่ทำไว้สำหรับจับเสี่ยงทายโดยมีเครื่องหมายกำกับ เป็นการทำบุญเป็นสังฆทาน. สลฺ คติยํ จลเน วา. อาโก, อิตฺถิยํ อา.
สลาฏก : ค. ดิบ
สลาภ : (วิ.) มีลาภ
รชสฺสลา : (อิต.) หญิงมีฤดู, หญิงมีระดู, หญิงถึงผ้า. วิ. รชโยคา รชสฺสลา. สล ปัจ.
สล : (ปุ.) กระต่าย. สลฺ อาสุคติยํ, อ.
สิลา : (อิต.) หิน, หินก้อน, ผา(หิน หินที่เขา), สิลา, ศิลา, ไศล (สะไหล). สิลฺ อุจฺเจ, อ. สิ เสวายํ วา, โล.
สุลา : (อิต.) สุลา ชื่อโรคหัวเดือนที่ขึ้นปลายนิ้ว, โรคจุกเสียด. สูลฺ รุชายํ, อ, รสฺโส.
กุสลานุเอสี : ค. ผู้แสวงหากุศล, ผู้แสวงหาความดี
กุสลาภิสนฺท : ป. วิบากเป็นแดนไหลออกแห่งกุศล, ผลแห่งกุศลธรรม, ห้วงบุญ
ปตฺตสลากา : อิต. สลากทำด้วยใบไม้
เพลุวสลาฏก : นป. มะตูมแก่, มะตูมที่ยังไม่สุก, มะตูมดิบ
ยสลาภ : ป. การได้ยศ, การมียศ
โลหสลากา : อิต. เส้นลวด
สูลา : (อิต.) โรคจุกเสียด, โรคลมแทง, ตะคิว. ส. ศูล.
อญฺชนิสลากา : อิต. ไม้ป้ายยาตา
อญฺชนิสลากาอญฺชนีสลากา : (อิต.) ไม้ป้ายยาตา.
อญฺชนิสลากา อญฺชนีสลากา : (อิต.) ไม้ป้าย ยาตา.
คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
ชน : (ปุ.) สัตว์, คน, ชน ( ผู้ยังกุศลและอกุศล ให้เกิด ). วิ. กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน. ชนฺ ชนเน, อ. ส. ชน.
มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
สล สลล สลฺลล : (นปุ.) ขนเม่น. สลฺ อาสุคติยํ, อ, อโล. ศัพท์ที่ ๓ สลฺลฺ อาสุคติยํ, อโล.
สิวาลย : (ปุ.) เทวสลานของพระอิศวร, ศิวาลัย.
สลสี : (อิต.) ขนเม่น. สลฺ ธาตุ อล ปัจ. อี อิต.
สลก สสงฺก : (ปุ.) พระจันทร์, เดือน, ดวงเดือน. วิ สโส อํโก ยสฺส โส สสํโก สสงฺโก วา.
สลขาริก สสงฺขาริก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยสังขาร.
ขณฺเฑติ : ก. ทำให้แตก, ทำลาย, ละเมิด, สละ, เลิก
ฉฑฺเฑติ : ก. ทิ้ง,ขว้าง, ซัดไป, สละ
นิสชฺเชติ : ก. ให้, สละ
ปชหติ : ก. ละ, สละ, เว้น
ปรกฺกโรติ : ก. ทำไว้ข้างโน้น, นำออก, กำจัด, สละ, ละเลิก
ปสาเรติ : ก. เหยียดออก, ให้เหยียดออก, สละ, ละทิ้ง
มูสล : (ปุ. นปุ.) แปลและธาตุเหมือน มุสล ต่างแต่ทีฆะ อุ ที่ มุ เป็น อู.
วิชหติ : ก. ละ, สละ
วิสฺสชฺเชติ : ก. ชี้แจง, แก้ไข; สละ
สีล : (นปุ.) สภาวะ, ธรรมชาติ, ปกติ. สีลฺ สมาธิมฺหิ, อ.
สูล : (ปุ. นปุ.) ความจุกเสียด, ความเสียดแทง, ขวากเหล็ก, หอก, หลาว, เครื่องแทง. สูลฺ รุชายํ, อ. ส. ศูล.
เสลุ : (ปุ.) มะกอก, มะซาง, มะคำไก่. สิ พนฺธเน, ลุ. สลฺ คติยํ, อุ, อสฺเส.
อนุปเวจฺฉติ : ก. โปรยปราย, เพิ่มให้, สละ
กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรต : (วิ.) ผู้ยินดี ยิ่งแล้วด้วยกรรมมิใช่กุศลมีความประพฤติ ชั่วด้วยกาย เป็นต้น.
กิส กิสล : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ, น้อย. กิสฺ ตนุกรเณ สาเน วา, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. กัจฯ ๖๗๓ วิ. กิตพฺพนฺติ กิสํ. กิ หึสายํ. อิส ปัจ. ศัพท์หลัง กิสฺ ธาตุ อล ปัจ.
กุสลกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นความดี, ฯลฯ, กุศลกรรม. ส.กุศลกรฺม กุศลกรฺมฺม.
กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
กุสลจิตฺต : นป. กุศลจิต, จิตที่เป็นกุศล, ความคิดที่ดี
กุสลธมฺม : ป. กุศลธรรม, ธรรมที่เป็นกุศล, ธรรมฝ่ายดี
กุสลปกฺข : ป. ธรรมฝ่ายกุศล
กุสลปกฺขิก : ค. อันเป็นฝักฝ่ายแห่งกุศล
กุสลสีล : นป. ศีลอันเป็นกุศล, ความประพฤติดี
โกสล : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนฉลาด, ความเป็นคนฉลาด, ความเป็นผู้ฉลาด. วิ. กุสลสฺส ภาโว โกสลฺลํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท.