ตส : (วิ.) หวาด, สะดุ้ง, ตกใจ, คลอนแคลน, กลับกลอก, เคลื่อนที่, เคลื่อนที่ได้, ไป. ตสฺ อุพฺเพคจลเนสุ, อ.
ตสติ : ก. ไหว, สะดุ้ง, กระหาย, อยาก
ปเวธติ : ก. หวั่นไหว, สะเทือน, สะดุ้ง
พฺยถน : (วิ.) เป็นทุกข์, ลำบาก, รบกวน, สะดุ้ง, กลัว, ไหว, สั่น, รัว, สั่นรัว.
อุตฺตสติ : ก. หวาด, สะดุ้ง, ผวาตกใจ
อุตฺตสน : ๑. นป. การหวาดกลัว, การสะดุ้ง;
๒. ค. หวาดกลัว, สะดุ้ง
อุตฺราสิ อุตฺตราสี : (วิ.) หวาด, หวาดเสียว, สะดุ้ง, ตกใจ, กลัว.
อุสฺสงฺกี : (วิ.) หวาด, หวาดเสียว, สะดุ้ง, กลัว, ตกใจ. อุปุพฺโพ, สกิ สงฺกายํ, อี.
ปริตสฺสติ : ก. สะดุ้ง
อุพฺพิคฺค อุพฺเพค : (วิ.) หวาด, หวาดหวั่น, หวาดเสียว, ตกใจ, สะดุ้ง. อุปุพฺโพ, วิชี ภยจลเนสุ, อ. แปลง ว เป็น พ ช เป็น ค ศัพท์ต้นแปลง ค เป็น คฺค ศัพท์หลังวิการ อิ เป็น เอ ซ้อน พฺ.
เขฏ : (ปุ.) ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ขิฏฺ อุตฺตาเส, อ. วิการ อิ เป็น เอ.
โขเภติ : ก. สะดุ้ง, กระเพื่อม, หวั่นไหว, ไม่สงบ
จกิต : ค. ผู้ถูกรบกวน, ผู้สะดุ้ง, ผู้กลัว
จิตฺตุตฺราส : ป. ความสะดุ้งแห่งจิต, ความหวาดกลัว
ฉมฺภติ : ก. สะดุ้ง, ตกใจกลัว
ฉมฺภิตตฺต : (นปุ.) ความหวาดหวั่น, ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ความครั่นคร้าม. ฉภิ อุตฺราเส, โต, ลงนิคคหิตและอิอาคม ได้ รูปเป็น ฉมฺภิต แล้วลง ตฺต ปัจ. ภาวตัท. สะกัด.
ฑ : (ปุ.) ความระคน, ความเป็นใหญ่ยิ่ง, ความสะดุ้ง, เสียง. อภิฯ น. ๔๖๒.
ตสิณา ตสินา : (อิต.) ตัณหาอันผู้ทำความสะดุ้ง, ความหวาด, ฯลฯ. ตสฺ อุพฺเพเค, อิโน. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
ตสิต : ค. ไหว, สะดุ้งแล้ว, กระหาย, อยาก
ตสิตา : (อิต.) ตัณหาผู้ทำความสะดุ้ง, ตัณหา. ตสฺ อุพฺเพเค, โต, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
ตาสนิย : ค. น่ากลัว, น่าหวาดเสียว, น่าสะดุ้ง
ตาเสติ : ก. ให้สะดุ้ง, ให้ตกใจแล้ว
ปนฺนโลม : ค. ผู้มีขนตก, ผู้มีขนราบ, ผู้ไม่มีความหวาดสะดุ้ง, ผู้สงบระงับ
ปริตฺตาส : (ปุ.) ความหวาด, ความสะดุ้ง, ความพรั่นพรึง. ปริปุพฺโพ, ตสฺ อุพฺเพเค, โณ.
ปวฺยธิต : ค. หวั่นไหว, สั่นสะเทือน, สะดุ้งกลัว
ปเวธิต : ค. ซึ่งทำให้หวั่นไหว, ซึ่งสะเทือน, ซึ่งสะดุ้ง
ปาปภีรุตา : อิต. ความสะดุ้งกลัวต่อบาป
ภย : (วิ.) สะดุ้ง, กลัว, หวาด, เป็นที่กลัว.
ภายน : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ควาหวาด, ความกลัว. ภี ภเย, ยุ.
ภิสน : (วิ.) น่ากลัว, น่าหวาดเสียว, น่าสะดุ้ง, น่าสพึงกลัว. ภี ภเย, ยุ. รัสสะ อี เป็น อิ นิคคหิตอาคม. และ สฺ อาคม หรือ ลง รึสน ปัจ. หรือ ภิสิ ภเย.
ภิสินี : (อิต.) สระมีดอกบัว, สระบัว, ความสะดุ้ง.
ภี ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ความขลาด, ความสะดุ้ง, ความสะดุ้งจิต. ภี ภเย, อ, ติ.
ภีรุ ภีรุก : (วิ.) กลัว, ขลาด, ขี้ขลาด, สะดุ้งกลัว. วิ. ภายตีติ ภีรุ ภีรุโก วา. อถวา, ภายนสีโล ภีรุ ภีรุโก วา. ภี ภเย, รุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือลง รุก ปัจ. หรือ ลง ณุก ปัจ. ลบ ณฺ แล้ว ลง รฺ อาคม.
สนฺตสติ : ก. หวาดสะดุ้ง
สนฺตาส : ป. ความสะดุ้ง, ความหวาดกลัว
อจฺฉมฺภี : (วิ.) ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่มีความครั่นคร้าม, ไม่สะดุ้ง, ฯลฯ. น+ฉมฺภีซ้อน จ.
อนุตฺตราสีอนุตฺราสี : (วิ.) มีความสะดุ้งหามิได้, ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่สะดุ้ง, ไม่กลัว, ไม่หวาด, ไม่หวาดเสียว.
อนุตฺตราสี อนุตฺราสี : (วิ.) มีความสะดุ้งหามิได้, ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่ สะดุ้ง, ไม่กลัว, ไม่หวาด, ไม่หวาดเสียว.
อนุตฺราสี : ค. ผู้ไม่สะดุ้ง, ผู้ไม่หวาดกลัว
อนุพฺพิคฺค : ค. ไม่สะดุ้งกลัว, ไม่หวาดกลัว
อโนตปฺปอโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาปทุจจริต.วิ. น โอตฺตปฺปตีติอโนตฺตปฺปํ.วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
อโนตปฺป อโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป ทุจจริต. วิ. น โอตฺตปฺปตีติ อโนตฺตปฺปํ. วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
อสงฺกมาน : ค. ไม่กลัว, ไม่สะดุ้ง, ไม่หวาดหวั่น
อสนฺต, อสนฺตาสี : ค. ไม่สะดุ้ง, ไม่หวาดกลัว
อาเขฏก : ป. ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว
อุกฺเขฏิต : กิต. ถ่มน้ำลายแล้ว, สลัดทิ้งแล้ว; สะดุ้งแล้ว
อุตฺตปติ : ก. สะดุ้งกลัวต่อบาป, กลัวความผิด
อุตฺตสฺต, - ตฺรสฺต : กิต. หวาดกลัวแล้ว, สะดุ้งแล้ว
อุตฺตาส : ป. ความหวาด, ความสะดุ้ง