ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
ปริฑยฺหคฺติ : (ปุ.) ไฟอันยังกายให้เร่าร้อน, ไฟอันยังกายให้กระวนกระวาย, ไฟอันยัง กายให้กระสับกระส่าย.
เปฬา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง (ภาชนะใส่ของอย่างหนึ่งรูปคล้ายถังเตี้ยๆ มีฝาปิด), หีบ, ช้อง (เครื่องจักสาน รูปคล้ายหม้อดิน ก้นสี่เหลี่ยมจตุรัสสำหรับใส่ปลา),ตะกร้า, เขียง (ไม้สำหรับการสับการหั่น). เปฬฺ คติยํ, อ. เป ปาลเน วา, โล, ฬตฺตํ. ปาฬฺ รกฺขเณ วา, อ, อาสุเส. ปี ตปฺปเน วา, โฬ, อีสฺเส.
อกุสองฺกุส : (ปุ.) ขอ (ไม้หรือเหล็กที่งอๆสำหรับใช้ชักเกี่ยวสับ), ขอเกี่ยว, ขอช้าง.วิ. อํเกติ อเนนาติ อํกุโส องฺกุโส วาอํกฺลกฺขเณ, โส, อสฺส อุ (แปลงอเป็นอุ).เวส ฯ๕๘๘ลง อุ อาคม. ส. องฺกุศองฺกุศสฺ
อกุส องฺกุส : (ปุ.) ขอ (ไม้หรือเหล็กที่งอๆ สำหรับใช้ชักเกี่ยวสับ), ขอเกี่ยว, ขอช้าง. วิ. อํเกติ อเนนาติ อํกุโส องฺกุโส วา อํกฺ ลกฺขเณ, โส, อสฺส อุ (แปลง อ เป็น อุ). เวส ฯ ๕๘๘ ลง อุ อาคม. ส. องฺกุศ องฺกุศสฺ
อาตุร : (วิ.) เร่าร้อน, เดือดร้อน, ระส่าย, กระ-สับกระส่าย, เจ็บ, ทนทุกขเวทนา (ทั้งกายและใจ), มีโรค.ส.อาตุร.
สปฺปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้สงบแล้ว, สัปปุรุษ, สัปบุรุษ, สัตบุรุษ(คนสัมมาทิฏฐิ). วิ. สนฺโต ปุริโส สนปฺปุริโส, แปลง สนฺต เป็น ส ซ้อน ปฺ. ส. สตฺปุรุษ.
สปฺปฏิภย : ค. มีอันตรายเฉพาะหน้า, เป็นไปกับด้วยอันตราย
สปฺปติ : ก. เลื้อยคลาน
สปฺปราช : (ปุ.) ราชาแห่งงู, พญางู, นาคราช.
สปฺปาณก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยสัตว์, มีตัวสัตว์.
สปฺปาน : (ปุ. นปุ.) คราบงู. สปฺป+อาน.
สปฺปาย : (วิ.) เหมาะสมแก่ภาวะของตน, สำราญ, สบาย (อยู่ดี ไม่มีทุกข์). สภาว+ปาย.
สปฺปายการก : (ปุ.) บุรุษพยาบาล
สปฺปายิกา : (อิต.) หญิงพยาบาล, นางพยาบาล.
สปฺปีติก : ค. ประกอบด้วยความอิ่มใจ
ปริสปฺปติ : ก. เลื้อย, คลาน
สปฺปสวจฺฉร สปฺปกสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) มะเส็ง, ปีมะเส็ง, ปีงูเล็ก.
สสปฺปติ : ก. เลื้อยคลาน
ทารุณ : (วิ.) หยาบ, หยาบช้า, ร้าย, ดุร้าย, โหดร้าย, น่าสะพรึงกลัว. วิ ทาเรติ วิทาเรตีติ ทารุโณ. ทรฺ วิทารเน, อุโณ, กุโน วา. ถ้าลง กุน ปัจ. สบ กฺ แปลง น เป็น ณ. ส. ทารุณ.
สปถ : (ปุ.) คำด่า, คำแช่ง, การด่า, การแช่ง, การสาบาน,สบถ.วิ.สปนํ สปโถ สปฺ อกฺโกเส,อโถ.
สาป : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, การให้ร้าย, คำแช่ง, คำด่า, คำสาป. สปฺ สาปฺ วา อกฺโกเส, โณ. ส. ศาป.
สาปท : (ปุ.) เนื้อร้าย (มีเสือโคร่งเป็นต้น). สปฺ อกฺโกเส, โท ทีฆะต้นธาตุ.
กฺริย : (นปุ.) การอันสัตบุรุษควรทำ (ได้แก่ ทานศีลและภาวนา) วิ. สปฺปุริเสหิ กตฺตพฺพนฺติ กฺริยํ. กรฺ กรเณ, โณย. ลบ อ ที่ ก อิ อาคม.
ฆรสปฺป : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู, งูเขียว. วิ. ฆเร สปฺโป ฆรสปฺโป. ฆเร วา นิวาโส สฺปโป ฆรสปฺโป.
ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
ธิกฺกต : ค. ซึ่งสบประมาท, เกลียดชัง, ทำให้เลวลง, น่าติเตียน
นิมฺโมก : (ปุ.) คราบ, คราบงู. วิ. นิมฺมุจฺจเต อสฺมา สปฺโปติ นิมฺโมโก. นิปุพฺโพ, มุจฺ โมจเน, โณ, จสฺส โก. ส. นิรฺโมก.
นิรงฺกโรติ : ก. เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่, ละทิ้ง, ไม่แยแส, ไม่คำนึง, สบประมาท
นิลฺลป : ค. ซึ่งไม่หลอกลวง, ปราศจากการสบประมาท
ปริภวติ : ก. สบประมาท, ดูหมิ่น, ฉิบหาย, ลำบาก
ปริภูต : กิต. ดูหมิ่นแล้ว, สบประมาทแล้ว, ฉิบหายแล้ว
วมฺภน : นป.,- นา อิต. การเย้ยหยัน, การสบประมาท
วมฺภิต : กิต. สบประมาทแล้ว, เย้ยหยันแล้ว
วมฺภี : ค. ผู้สบประมาท, ผู้เย้ยหยัน
วมฺเภติ : ก. สบประมาท, เย้ยหยัน
สปฺป : (ปุ.) สัตว์เสือกคลาน, งู. วิ. ภูมิผุฎฺเฐน คตฺเตน สคติ สปฺปนํ ยสฺส โส สปฺโป. สปฺปตีติ วา สปฺโป. สํสปฺปนฺโต คจฺฉตีติ อตฺโถ. สปฺปฺ คติยํ, อ.
สาธุปุริส : (ปุ.) สัปปุริสะ, สัปบุรุษ, สัตบุรุษ.
สิปฺปุสาลา : (อิต.) ศาลาทำการของนักศิลป์ วิ. สปฺปีนํ กมฺมสาลา สปฺปิสาลา. เป็น สปฺปสาลา ก็มี.
อกฺโกส : (ปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อกฺโกสน : (นปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อกฺโกสนา : (อิต.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อปฺปติกุฏฺฐ : ค. ไม่สบประมาท, ไม่รังเกียจ
อวญฺญาต, อวญฺญต (อุญฺญาต) : กิต. ถูกดูถูกแล้ว, ถูกสบประมาทแล้ว
อวญาต : กิต. ดูถูกแล้ว, สบประมาทแล้ว
อวมญฺญติ : ก. ดูหมิ่น, ดูถูก, สบประมาท
อวมญฺญนา : อิต. การดูหมิ่น, การสบประมาท
อสปฺปายเสวน : (นปุ.) การเสพของอันไม่เป็นสัปปายะ, การเสวนะกับสิ่งที่เป็นอันตรายแก่การปฏิบัติ, ของแสลง.
อสาต : ๑. นป. ความทุกข์, ความเจ็บปวด ;
๒. ค. ไม่เป็นที่พอใจ, ไม่สบอารมณ์