ราชเคห, - ภวน, - มนฺทิร : นป. พระราชวัง; ราชสำนัก
ราชนิเวสน : นป. ราชนิเวสน์, พระราชวัง
ติตฺถิยาราม : ป. สำนักของเดียรถีย์
ตุมฺหมูล : (นปุ.) ที่ใกล้แห่งท่าน, สำนักของ ท่าน, สำนักท่าน.
เทวกุล : (นปุ.) ที่อยุ่ของเทวดา, เรือนของ เทวดา, สำนักของเทวดา, ศาลเจ้า, ศาลเทพารักษ์, ที่ของเทพารักษ์, ที่เทพารักษ์.
นิเกตวาสี : ค. ผู้อาศัยอยู่ในบ้านหรือในสำนัก
ปมทาวน : นป. อุทยานใกล้พระราชวัง
มหามจฺจาลย : (ปุ.) สำนักนายกรัฐมนตรี คือที่ทำ งานของอำมาตย์ผู้ใหญ่ เป็นศูนย์รวมงานของประเทศ.
ราชกุล : นป. ราชตระกูล, ราชสำนัก
ราชงฺคณ : นป. สนามหลวง, สนามหน้าพระราชวัง
เสวก : (ปุ.) ข้าเฝ้า, อำมาตย์, เสวก(เส+วก ข้าราชการในราชสำนัก). เสวฺเสวเน, ณฺวุ.
อคฺคราชฑูต : (ปุ.) อัครราชฑูต ชื่อผู้แทนพระเจ้าแผ่นดินผู้เลิศ ซึ่งประจำชั่วคราวหรือ ประจำอยู่ในสำนักแห่งรัฐบาลอื่น มีฐานะสูงกว่าราชฑูต.
อนฺเตปุร : (นปุ.) ภายในแห่งบุรี, ภายในแห่งเรือนหลวง, ภายในพระราชวัง, ห้องพระมเหสี, ห้องพระสนม.วิ.อนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํ.เป็นอนฺโตปุรํ.โดยแปลงอที่ต เป็นโอบ้างส.อนฺเตปุร.
อนฺเ ตปุริก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ภายในแห่งบุรี, ข้าราชการในสำนัก, ข้าราชการในพระราชสำนัก.
อสนฺติเก : สัต. ในที่ไม่ใกล้, ในที่มิใช่สำนัก
อาจริยก : (นปุ.) สำนักแห่งอาจารย์วิ. อาจริยสฺสสนฺติกํอาจริยกํ.ลบสนฺติเหลือแต่ก.
อาฬาร อาฬารตาปส : (ปุ.) อาฬารดาบส ชื่อดาบสหัวหน้าสำนัก ซึ่งพระมหาบุรุษ เสด็จเข้าไปศึกษาลัทธิตอนผนวชใหม่ ๆ.
อิตฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนคือหญิง, เรือนของ หญิง, พระราชวังชั้นใน, ที่อยู่สำหรับ ฝ่ายใน, ห้องพระมเหสี. วิ. ราชิตฺถีน มคารํ อิตฺถาคารํ. โดยอุปจารโวหาร หมายเอา นางสนม กำนัล ก็ได้.
อุทฺทก : (ปุ.) อุททกดาบส ชื่อดาบสซึ่ง พระมหาบุรุษ เสด็จเข้าไปศึกษาลัทธิตอน ผนวชใหม่ ๆ และทรงได้อรูปฌานที่ ๔ จากสำนักนี้.
โอโรธ : (ปุ.) พระราชวังชั้นใน, ที่อยู่สำหรับ ฝ่ายใน, หมู่แห่งนางพระสนมของพระราชา, ห้องพระสนม, ห้องพระมเหสี. วิ. ยถา กามาวจริตํ อปฺปทาเนน อวรุนฺธียติ ราชิตฺถิโย อเนนาติ โอ โรโธ. อวปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, โณ.