สิลา : (อิต.) หิน, หินก้อน, ผา(หิน หินที่เขา), สิลา, ศิลา, ไศล (สะไหล). สิลฺ อุจฺเจ, อ. สิ เสวายํ วา, โล.
สิลาภู : (ปุ.) งูเห่า, งูเขียว, งูเล็ก. วิ. ปฐมกาเล สิลายํ ภวตีติ สิลาภู. ภู สตฺตายํ, กฺวิ.
สิลาปาการ : ป. กำแพงหิน
สิลาโปกขรณี : (อิต.) ตระพังหิน. วิ. สิลามยา โปกฺขรณี สิลาโปกฺขรณี. ตระพังคือบ่อน้ำ.
สิลาเลขนี : (อิต.) ดินสอหิน.
มโนสิลารส : (ปุ.) รสแห่งมโนสิลา, น้ำแห่งมโนสิลา.
กมฺพลสิลาสน : นป. กัมพลศิลาอาสน์, แท่นหินที่ปูลาดด้วยผ้ากัมพลใช้เป็นที่ประทับของท้าวสักกะ
ปณฺฑุกมฺพลสิลาสน : นป. แท่นศิลาที่มีสีเหมือนผ้ากัมพล, ชื่อแท่นที่ประทับนั่งของพระอินทร์
ปทรสิลา : อิต. ศิลาเรียบ, แผ่นหินที่ใช้ปูพื้นสำหรับเดิน
ปทสิลา : อิต. หินที่ใช้วางไว้บนพื้นดินสำหรับก้าวเดิน, หินปูพื้น
มโนสิลา : (อิต.) น้ำชาด (คุณสมบัติหรือสาระของชาด). ชาดก้อน. ชาดเป็นชื่อของวัตถุสีแดงเป็นผงก็มี เป็นก้อนก็มี.
เสเลยฺยก : (วิ.) เกิดในศิลา, มีในศิลา, อยู่ในศิลา. สิลา+ชาต, ภว. วุตฺถ+เณยฺย ปัจ. ก สกัด รูปฯ ๓๖๒ ว่า ลง ก อาคม.
ฆโนปล : (นปุ.) ลูกเห็บ คือเม็ดน้ำแข็งที่ตกลง มาจากอากาศเมื่อฝนตก วิ. ฆนโต ฆนกาเล วา สญฺชาติ อุปสํ สิลา ฆโนปล.
เสล : (ปุ.) ภูเขา วิ. สิลา ปจุรา สนฺตฺยสฺมินฺติ เสโล. ณ ปัจ.
สิขรี : (ปุ.) ศิลา, สีลา, สิขรโยคา สิขรี. อี ปัจ.
ฆณ ฆน : (นปุ.) ฆณะ ฆนะ ชื่อองค์ที่ ๔ ใน ๕ องค์ของดุริยางค์, สัมมดาฬ เป็นต้น ชื่อ ฆณะ ฆนะ. หนฺ หึสายํ. อ, หสฺส โฆ. อภิ ฯ ลง ณ ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ. สัมมดาฬ คือ ดาฬที่ทำด้วยไม้ สมฺมตาฬํ นาม กฏฺฐมยตาฬํ. กังสดาล ( ระฆังวง- เดือน ) คือ ดาฬที่ทำด้วยโลหะ กํสตาฬํ นาม โลหมยํ. สิลาตาฬะ คือดาฬที่ทำด้วย สิลาและแผ่นเหล็ก สิลาย จ อโยปฏฺเฏน จ วาทนตาฬํ สิลาตาฬํ. ฏีกาอภิฯ
ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
สลาฎ : (วิ.) ดิบ. สลาฎฺ พาเ ลฺย, อุ.
สลากา : (อิต.) ซี่, ซี่ไม้, ติ้ว, ตั๋ว, สลาก ฉลาก คือ สิ่งที่ทำไว้สำหรับจับเสี่ยงทายโดยมีเครื่องหมายกำกับ เป็นการทำบุญเป็นสังฆทาน. สลฺ คติยํ จลเน วา. อาโก, อิตฺถิยํ อา.
สลาฏก : ค. ดิบ
สลาภ : (วิ.) มีลาภ
รชสฺสลา : (อิต.) หญิงมีฤดู, หญิงมีระดู, หญิงถึงผ้า. วิ. รชโยคา รชสฺสลา. สล ปัจ.
อสฺม, อสุมา : ป. หิน, ศิลา
กุสลานุเอสี : ค. ผู้แสวงหากุศล, ผู้แสวงหาความดี
กุสลาภิสนฺท : ป. วิบากเป็นแดนไหลออกแห่งกุศล, ผลแห่งกุศลธรรม, ห้วงบุญ
ปตฺตสลากา : อิต. สลากทำด้วยใบไม้
เพลุวสลาฏก : นป. มะตูมแก่, มะตูมที่ยังไม่สุก, มะตูมดิบ
ยสลาภ : ป. การได้ยศ, การมียศ
โลหสลากา : อิต. เส้นลวด
สุลา : (อิต.) สุลา ชื่อโรคหัวเดือนที่ขึ้นปลายนิ้ว, โรคจุกเสียด. สูลฺ รุชายํ, อ, รสฺโส.
สูลา : (อิต.) โรคจุกเสียด, โรคลมแทง, ตะคิว. ส. ศูล.
อญฺชนิสลากา : อิต. ไม้ป้ายยาตา
อญฺชนิสลากาอญฺชนีสลากา : (อิต.) ไม้ป้ายยาตา.
อญฺชนิสลากา อญฺชนีสลากา : (อิต.) ไม้ป้าย ยาตา.
อมฺภ : (ปุ.) หิน, ก้อนหิน, ศิลา. อมฺ คติยํ, โภ.อภิวาสทฺเท, อ, นิคฺคหิตาคโม.
คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
คิลานภตฺต : นป. ศิลานภัต, อาหารเพื่อผู้ป่วย
ชน : (ปุ.) สัตว์, คน, ชน ( ผู้ยังกุศลและอกุศล ให้เกิด ). วิ. กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน. ชนฺ ชนเน, อ. ส. ชน.
ปทร : (ปุ.) ลำธาร, ระแหง, ไม้เลียบ, กระดาน, ซอกศิลาใหญ่, ถ้ำใหญ่, การแตก, การทำลาย. ปปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. เป็น นปุ. บ้าง.
ปาสาณเลข, - ขา : ป., อิต. รอยเขียนบนหิน, ศิลาจารึก, การเขียนบนแผ่นหิน
พทฺธสีมา : (อิต.) เขตอันสงฆ์ผูกแล้ว, แดนอันสงฆ์ผูกแล้ว, พัทธสีมา คือเขตแดนที่สงฆ์กำหนดขึ้น มีศิลาเป็นต้น เป็นครื่องหมายเขต.
มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
สิวาลย : (ปุ.) เทวสลานของพระอิศวร, ศิวาลัย.
อสฺม : (ปุ.) ศิลา, หิน, ก้อนหิน.วิ. อสฺสเตติอสฺมา. อสุ เขปเน, พยฺาปเน วา, โม.ลบอุแจกวิภัติตามแบบราช.
อุปล : (ปุ.) ศิลา, หิน. อุปุพฺโพ, ปลฺ รกฺขเณ, อ. อุปฺ เทเห วา, อโล.