Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หทัย , then หทย, หทัย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หทัย, 14 found, display 1-14
  1. หทย : (นปุ.) ใจ, หัวใจ. วิ. หรติ อตฺตโน อา ธารนฺติ หทยํ. หรฺ หรเณ, โย, รสฺส โท. หทฺ จินฺตายํ วา, อโย. น้ำใจ ก็แปล. ส. หฺฤทย.
  2. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  3. โทหฬินี : (อิต.) หญิงผู้มีฉันทะแห่งบุคคลผู้มี หทัยสอง, ฯลฯ, หญิงแพ้ท้อง, หญิงมีครรภ์.
  4. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  5. หทยงฺคม : (ไตรลิงค์.) ถ้อยคำอันพอใจ, ถ้อยคำอันสบายหู, คำถูกใจ, คำพอใจ, คำจับใจ. วิ. หทยํ มนํ คจฺฉติ ปวิสตีติ หทยงฺคมํ. หทยปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ.
  6. หทยาลุ หทยี : (วิ.) มีใจดี วิ. หทยํ พหุลํ ปสตฺถญฺจ ยสฺส โส หทยาลุ หทยี จ. อาลุ อี ปัจ. อภิฯ.
  7. หทยาลุ : ค. มีใจ, ใจดี
  8. ถทฺธหทย : ค. ผู้มีใจกระด้าง
  9. สุหท สุหทย : (ปุ.) คนมีใจดี, คนใจดี, มิตร, สหาย.
  10. สุหชฺช : (วิ.) มีใจดี, สุนฺทร+หทย+ณฺย ปัจ. สกัด ดู หชฺช ประกอบ.
  11. สุหท สุหทเย : (วิ.) มีใจดี วิ. สุนฺทรํ หทย เมตสฺสาติ สุหโท สุหทโย วา. ศัพท์ต้น ลบ ย. ส. สุหฤทย.
  12. หฺชช : (วิ.) อันพึงใจ, น่าพึงใจ, น่ายินดี, ยินดี, พึงใจ. วิ. หทเย สาธุ หชฺชํ หทยสฺส วา ปิยนฺติ หชฺชํ. หทย+ณฺย ปัจ. ลบอักษรที่สุดแห่งศัพท์ คือ ย ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  13. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  14. พปฺป : (ปุ.) น้ำตา วิ. วปติ พหิ หทยคตโสเกนาติ พปฺโป. วปฺ นิกฺขมเน, โป, วสฺส โพ.

(0.0066 sec)