ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
มาติย : (ปุ.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, วิ. มาติโต สมฺภูโต มาติโย. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑.
สีส : ป. ศีรษะ, หัว, ยอด, หัวข้อ
ชิร ชีร : (วิ.) แก่, คร่ำคร่า, แก่คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม, ยุ่ย, ย่อย. ชรฺ ธาตุ อ ปัจ.แปลง อ ที่ ช เป็น อี ศัพท์ต้นรัสสะ หรือตั้ง ชีรฺ พฺรูหเณ, อ.
กเรริ : (ปุ.) กุ่ม, ไม้กุ่ม ชื่อต้นไม้ ใบออกจาก ต้น เป็นใบย่อย ๓ ใบ มีสองชนิดคือ กุ่ม น้ำ กุ่มบก. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร, ลสฺสโร. แปลง อี เป็น เอ อ ที่ ร เป็น อิ. แปลง เป็น อี เป็น กเรรี บ้าง.
กุจฺฉิวิตฺถมฺภน : นป. การค้ำจุนท้อง, การช่วยเหลือให้ลำไส้ปฏิบัติงานได้ตามปกติ (การย่อยอาหาร)
กุถน : นป. การย่อยอาหาร
กุถิต : ค. เดือด, เดือดพล่าน; (อาหาร)ที่ย่อยแล้ว; ซึ่งถูกทรมาน, ซึ่งระทมทุกข์
คหณิก : ค. ผู้บริสุทธิ์มาแต่กำเนิด; ผู้มีไฟธาตุย่อย
คหณี : (อิต.) ท้อง. คหฺ อุปาทาเน, อนิ, อิตฺถิยํ อี. ท้องของหญิง วิ. คพฺถํ คณฺหาติ ธาเรตีติ คหณี. คพฺภาสยสญฺญิโต มาตุกุจฺฉิปฺปเท โส. ไฟย่อยอาหาร, ไฟธาตุ. เตโชธาตุมฺหิ ยถาภุตฺตาหารสฺส วิปาจนวเสน คณฺหณ โต คหณี. เป็นชื่อของโรคก็มี.
ชิรณคฺคิ ชีรณคฺคิ : (ปุ.) ไฟอันยังกายให้ ทรุดโทรม, ไฟอันยังอาหารให้ย่อย, ไฟย่อยอาหาร.
ชีราเปติ, ชีเรติ : ก. ให้คร่ำคร่า, ให้เก่าแก่, ให้เสื่อม; ให้ย่อย
ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
ญาณวตฺถุ : นป. ญาณวัตถุ, หัวข้อแห่งญาณ
ทมฺม. : (วิ.) อัน...ย่อยยมทรมานได้, ฯลฯ. วิ. ทมฺเมเตติ ทมฺโม. อัน...ทรมานได้, ฯลฯ.วิ. ทมิตพฺโพติ. ทมฺโม. ผู้ควรแก่การทรมาน, ฯลฯ. วิ. ทมนารโห ทมฺโม. ทมฺ ทมเน, โณฺย. แปลง ณฺย กับที่สุดธาตุเป็น มฺม หรือแปลง มฺย เป็น มฺม รูปฯ ๕๓๙.
ทุฏฺฐคหณิก : ค. ผู้เป็นโรคพรรดึก, ผู้เป็นโรคท้องผูก, ผู้เป็นโรคอาหารไม่ย่อย
นวสิวถิกาปพฺพ : (นปุ.) หัวข้อว่าด้วยป่าช้า เก้า, หัวข้อยิ่งด้วยป่าช้าเก้าหัวข้อ.
ปจฺจงฺค : นป. ส่วนย่อย, สาขา
ปปฏิกา ปปฺปฏิกา : (อิต.) กระบิ คือ แท่ง หรือแผ่นหรือชิ้น ที่บิหรือแยกจากส่วน ใหญ่, สะเก็ด คือชิ้นย่อยของไม้หรือหินที่ แยกจากส่วนใหญ่, กะเทาะ คือสิ่งของหรือ เปลือกไม้ที่หลุดจากพื้นเดิม หรือจากต้น. ป+ปฏ+อิก ปัจ. สกัด อาอิต.
ปริณาม : ป. การเปลี่ยนแปลง, การย่อยอาหาร, ความแปรปรวน
ปริณามคฺคิ : (ปุ.) ไฟอันยังอาหารให้ย่อย, ไฟย่อยอาหาร.
ปริณามน : นป. การเปลี่ยนแปลง, การย่อย
ปริณาม ปรินาม : (ปุ.) การน้อมไป, การน้อม มา แปลได้ทั้งไปและมา แล้วแต่เนื้อความจะบ่ง, การย่อยไป, ความน้อมไป, ความน้อมมา. ณ ปัจ.
ปริปาก : ป. การหุงต้ม, การย่อยอาหาร
สมเวปากินี : อิต. การสนับสนุนให้ย่อยอาหารดี
สาขา : (อิต.) กิ่ง, กิ่งไม้, ก้าน, สิ่งย่อย, ส่วนย่อย, ห้วย. สาขฺ พฺยาปเน, อ. ส. ศาขา.
สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
อชีรก : นป. ธาตุพิการ, อาหารไม่ย่อย
อนุพฺยญฺชน : (นปุ.) ลักษณะน้อย, ส่วนปลีกย่อย, ส่วนย่อย, การปรากฏเนืองๆ.
อนุพฺยญฺชนคาหิ : (วิ.) ถือเอาโดยส่วนปลีกย่อย.
อนุภาค : ป. อนุภาค, ส่วนย่อย, ส่วนประกอบ
อลสก : นป. การกินอาหารมากเกินไปจนไม่ย่อย
อสีตฺยานุพฺยญฺชน : (นปุ.) ลักษณะน้อยแปดสิบ, ส่วนย่อยแปดสิบ, อนุพยัญชนะแปดสิบ.
อุคฺฆติตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งธรรมอันท่านยกหัวข้อขึ้น แสดงแล้ว, ผู้รู้ธรรมพอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดง, อุคฆติตัญญู (พอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดงก็เข้าใจ แล้ว).
อุทฺเทสิก : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, ฯลฯ, อุทเทส อุเทส (จัดอย่างหัวข้อที่ตั้งไว้ สังเขปรวม เป็นข้อ ๆ ไว้ การสอนหรือการเรียนบาลี). อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสเน, โณ, ทฺสํโยโค.
สินิห : ค. รัก, เยื่อใย