Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ห้องประชุม, ประชุม, ห้อง , then ประชุม, หอง, ห้อง, ห้องประชุม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ห้องประชุม, 125 found, display 1-50
  1. กร : (ปุ.) บุคคลผู้ทำ, แขน, มือ, งวง, กาย, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ฝูง. กรฺ กรเณ, อ. ส. กร.
  2. โกฏฐ : ๑. ป., นป. กระเพาะ, ลำไส้, ท้อง; ยุ้ง, ฉาง, ห้องเก็บของ, กุฏิพระ; ช่อง, โพรง, ห้อง; ๒. นป. ต้นโกฐ; ๓. ป. นกเปล้า
  3. คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
  4. จย : (ปุ.) การก่อ, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, หมวด, ดินที่ถม อุ. จโย ปริปตติ. ดินที่ถมพังทะลาย. จิ จเย, อ.
  5. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  6. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  7. นิกร : (ปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, หมวด, คณะ. วิ. อวยวํ สมีเป กโรตีติ นิกโร. ส. นิกร.
  8. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  9. นิจย : (ปุ.) อันสะสม, อันรวบรวม, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ นิปุพฺโพ, จิ จเย, อ. ส. นิจย.
  10. นิวห : (ปุ.) ฝูง, หมู่ พวก, ประชุม, กอง, คณะ. นิปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, อ. วิ. นิสฺเสสโต วหติ อวยวนฺติ นิวโห. ส. นิวห.
  11. ปูค : (ปุ.) หมาก. ปูชฺ ปูชายํ, โณ. แปลง ช เป็น ค. และแปลว่า ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะด้วย.
  12. พฺยุห : (ปุ.) กระบวน, ขบวน, กระบวนทัพ, กองทัพ, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. วิปุพฺโพ, อูหฺ สมฺปิณฺฑเน, อ. แปลง อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ รัสสะ อู เป็น อุ.
  13. ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
  14. ราสิ : ป. กอง, ก้อน, กลุ่ม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม
  15. สนฺโทห : (ปุ.) ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. วิ. สหาวยเวน ทูหยตีติ สนฺเทโห. ทุหฺ ปปูรเณ, โณ. ส. สนฺโทห.
  16. สนฺนิจย : (ปุ.) ฝูง, หมวด, หมู่ พวก, ประชุม, กอง, คณะ.
  17. สมิติ : (อิต.) ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สังคม. วิ. สหาวยเวน เอตีติ สมิติ, สหปุพฺโพ, อิ คติมฺหิ, ติ.
  18. สมุจฺจย : (ปุ.) การก่อขึ้นพร้อม, การสะสม, การสั่งสม, การรวบรวม, การพอกพูน, ความก่อขึ้นพร้อม, การประมวล, ฯลฯ, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ชุมนุม, สมุจจัย. วิ. สห อุจฺจียนฺเตติ
  19. อวกาส, โอกาส : ป. โอกาส, ช่องทาง, ห้อง
  20. โอฆ : (ปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, หมวด, กอง, คณะ. อวปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ, หนสฺสโฆ. อุจฺ สมวาเย วา, โณ, จสฺสโฆ. ส. โอฆ.
  21. อฏฺฐก : (ปุ.) ประชุมแห่งชนแปด, ประชุม แห่งวัตถุแปด. วิ. อฏฺฐนฺนํ สมูโห อฏฺฐ โก. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
  22. กลาป : (ปุ.) คณะ, ฝูง, หมู่, พวก, กอง, ประชุม. วิ. กลํ อวยวํ ปาตีติ กลาโป. กลปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ. ส. กลาป. กลาป
  23. เมลก : (ปุ.) การกอดรัด, การเกี่ยวข้อง, การคุ้นเคย, การกอดรัก, ฯลฯ, ความรัก, ความเยื่อใย, หมู่, ประชุม. มิลฺ สิเนหเน, โณ, สตฺเถ โก.
  24. สเมติ : ก. ประชุม
  25. สโมสรติ : ก. ประชุม
  26. กจฺฉนฺตร : (นปุ.) ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัวของ พระราชา. วิ. กจฺฉสฺส ปโกฏฺฐ สฺส อนฺตรํ กจฺฉนฺตรํ. ราชูนํ สพฺเพสํ อสาธารณฏฺฐานํ กจฺฉนฺตรํ.
  27. กณฺโฑลิกา : อิต. กระเช้าหวาย, กระจาด, ห้องเก็บของ
  28. กมฺมปฺปตฺต : ค. ควรแก่สังฆกรรม, ผู้ประชุมกันทำสังฆกรรม
  29. การกสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์ผู้ทำ, สงฆ์ผู้ทำกิจทาง พระศาสนา, การกสงฆ์. สงฆ์มีจำนวน ต่าง ๆ กัน ประชุมพร้อมเพรียงกันทำ การต่าง ๆ มีสังคายนาเป็นต้น เรียกว่า การกสงฆ์.
  30. กิจฺจาธิกรณ : นป. กิจจาธิกรณ์, กิจที่สงฆ์พึงทำในที่ประชุมสงฆ์
  31. กุฏี : อิต. กระท่อม, ห้องเล็ก, เพิง
  32. โกฏฐก : นป. ซุ้ม, ป้อม, ที่หลบซ่อน, ห้องเก็บของ, ยุ้ง, ฉาง
  33. คพฺภทฺวาร : นป. ประตูห้อง
  34. คพฺภสหสฺสปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับแล้วด้วย พันแห่งห้อง.
  35. คามก : (ปุ.) ประชุมแห่งบ้าน, หมู่บ้าน. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
  36. คามตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวบ้าน.
  37. จกฺกวาลคพฺภ : ป. ห้องแห่งจักรวาล, ภายในจักรวาล
  38. จตุรงคสนฺนิบาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่. การประชุมประกอบด้วยองค์สี่.
  39. จาตุมฺมหาปถ : (ปุ.) ทางใหญ่สี่, ภูมิภาคเป็น ที่ประชุมแห่งทางใหญ่สี่, หนทางเป็นที่ ไปแห่งทางใหญ่สี่, ทางใหญ่สี่แพร่ง.
  40. จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
  41. จิตฺตาคาร จิตฺราคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนอันสวย งาม, ห้องภาพ.
  42. เจติยคพฺภ : ป. ห้องแห่งเจดีย์, ห้องเจดีย์, บริเวณภายในองค์เจดีย์
  43. ชนตา : (อิต.) ประชุมแห่งชน, หมู่แห่งชน, ประชุมชน, ชุมนุมชน. วิ. ชนานํ สมูโห ชนตา.
  44. ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
  45. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  46. ทีปคพฺภก : นป. ห้องพัก
  47. เทโวโรหณสมาคม : (ปุ.) การมาพร้อมกัน (ประชุมกัน) ในกาลเป็นที่เสด็จลงจากเทวโลก.
  48. ธมฺมสภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกับเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว เป็นที่แสดงซึ่งธรรม, ธมฺมสภา (ที่ประชุมสอนศาสนา).
  49. ธาราเคห : (นปุ.) เรือนมีท่อน้ำ, ห้องสำหรับอาบน้ำ, ห้องอาบน้ำมีผักบัว.
  50. นาครตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวเมือง วิ. นาครานํ สมูโห นาครตา. ความเป็นแห่ง ชาวเมือง วิ. นาครานํ ภาโว นาครตา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-125

(0.0687 sec)