Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อกุศลกรรมบถ, กรรมบถ, อกุศล , then กมฺมปถ, กรรมบถ, อกศลกรรมบถ, อกุศล, อกุศลกรรมบถ, อกุสล, อกุสลกมฺมปถ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อกุศลกรรมบถ, 25 found, display 1-25
  1. อกุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมมิใช่กุศล, ทางแห่งความชั่ว, อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ คือกายทุจริต๓ วจีทุจริต๔ มโนทุจริต๓.
  2. กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
  3. อกุสล : (วิ.) ผู้มีความฉลาดหามิได้, ผู้มีความดีหามิได้, วิ. นตฺถิ ตสฺส กุสลนฺติอกุสลํ. มิใช่ความฉลาด, มิใช่ความดี วิ.น กุสลํ อกุสลํ. ส. อกุศล.
  4. กณฺหธมฺม : ป. ธรรมดำ, ธรรมเลว, อกุศล
  5. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  6. กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
  7. กิพฺพิส, กิพฺพิสก : นป. อกุศล, โทษ, การกระทำผิด
  8. กุสลเจตสิก : (วิ.) (ธรรม อารมณ์) อันเกิดกับจิตที่เป็นอกุศล.
  9. ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
  10. ชน : (ปุ.) สัตว์, คน, ชน ( ผู้ยังกุศลและอกุศล ให้เกิด ). วิ. กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน. ชนฺ ชนเน, อ. ส. ชน.
  11. ธุต : (ปุ.) ภาวะอันขจัดซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล วิ, อกุสสธมฺเม ธุนาตีติ ธุโต, ธุ วิธุนเน, โต.
  12. ธุตงฺค ธูตงฺค : (นปุ.) องค์อันเป็นเครื่องกำจัด ซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล, องค์เป็นเครื่องกำ จัดกิเลส, ธุดงค์ ชื่อวัตรปฏิบัติพิเศษของ ภิกษุมี ๑๓ ข้อ.
  13. นมุจิ : (ปุ.) นมุจิ ชื่อมารชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, มาร. วิ. อกุสลธมฺเม น. มุญฺจตีติ นมุจิ (ไม่ละ อกุศลธรรม). นปุพฺโพ, มุจ โมจเน, อิ. ส. นมุจิ ว่า กามเทพ.
  14. ปริตฺตธมฺม : (ปุ.) ปริตตธรรม คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม และ อัพยากตธรรม ที่เป็น กามาวจรทั้งหมด. ไตร. ๓๓ / ๒๖๗ / ๖๗๘.
  15. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  16. หิรินิเสธ : (วิ.) ผู้เกลียดกันซึ่งอกุศลวิตกด้วยหิริ วิ. อกุสสวิตกฺกํ หิริยา นิเสเธตีติ หิรินิเสโธ. ผู้เกลียดกันซึ่งอกุศลวิตกอันเกิดขึ้นแล้วในภายในด้วยหิริ วิ. อนฺโต อุปฺปนฺนํ อกุสลวิตกฺกํ หิริยา นิเสเธตีติ หิรินิเสโธ.
  17. อกุสลกมฺม : (นปุ.) กรรมมิใช่ความฉลาด, กรรมมิใช่ความดี, กรรมชั่วร้าย, อกุศลกรรม (โทษ บาป).
  18. อกุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเป็นอกุศล, อกุศลจิต คือจิตที่มีความชั่ว เป็นจิตที่ประกอบด้วยอกุศลเจตสิก ได้แก่ โลภมูลจิต ๘โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒.
  19. อกุสลเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเป็นบาป, ความนึกอันเป็นบาป, ความตั้งใจอันเป็นบาป, ความคิดชั่ว, ความคิดอันเป็นอกุศล, เจตนาอันเป็นอกุศล. ส. อกุศลเจตนา.อ
  20. อกุสลเจตสิก : (ปุ.) เจตสิกธรรมที่เป็นอกุศล, เจตสิกที่เป็นอกุศล.
  21. อกุสลเจตสิกธมฺม : (ปุ.) เจตสิกธรรมอันเป็นอกุศล, อกุศลเจตสิกธรรม มี ๑๔ ดวง คือ โมหะ อหิริกะ อโนตัปปะ อุทธัจจะ โลภะ ทิฏฐิ มานะ โทสะ อิสสามัจฉริยะ กุกกุจจะ ถีนะ มิทธะ และ วิจิกิจฉา.
  22. อกุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความชั่ว, รากเหง้าแห่งบาป, รากเหง้าแห่งอกุศล มี ๓ คือ โลภะ โทสะ และ โมหะ.
  23. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  24. อหิริก : (ปุ.) คนหมดความละอาย, คนหมดความละออายใจ, คนหมดความขยะแขยงในการทำทุจริตต่าง ๆ, สภาพที่ไม่ละอายแก่อกุศลทุจริต.
  25. อุปปีฬกกมฺม : (นปุ.) กรรมบีบคั้น, กรรม เบียดเบียนกรรมอื่น ๆ (ได้แก่ อกุศลกรรม ๑๒ มหากุศลกรรม ๘), อุปปีฬกกรรม (กรรมที่เบียดเบียนชนกกรรมซึ่งให้ผลอยู่ แล้วให้มีกำลังลดลง กรรมที่เบียดเบียนรูป นามซึ่งเกิดจากชนกกรรมให้มีกำลังลดลง).
  26. [1-25]

(0.0565 sec)