Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อักษรไขว้, อักษร, ไขว้ , then ขว, ไขว้, อกษร, อักษร, อักษรไขว้ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อักษรไขว้, 64 found, display 1-50
  1. เลขน : นป. การเขียน; อักษร, สิ่งที่เขียน
  2. อขุ : (ปุ.) หนังสือ, อักขระ, อักษร, นปุพฺโพ, ขี ขเย, อุ. แปลว่า หนู ก็มี.
  3. กณฺฐช : ค. เกิดแต่ลำคอ, (อักษร) ที่มีฐานกรณ์เกิดจากคอ
  4. ชมฺพุก : (ปุ.) หมาจิ้งจอก. ชมุ อทเน, ณฺวุ. ลง พ อักษร ที่สุดธาตุและแปลง อ เป็น อุ. ส. ชมฺพุก, ชมฺพูก.
  5. ธมฺมนุญฺญ : (ปุ.) ธรรมนูญ พระธรรมนูญ ชื่อว่ากฎหมายว่าด้วยระเบียบการ เช่นพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ชื่อกฎหมายสูงสุดของประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย. ธมฺม+มนุญฺญ ลบ อักษร ที่เสมอกันเสียตัวหนึ่ง.
  6. นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
  7. ปทานุกฺกม : (วิ.) การก้าวไปตามซึ่งบท, ลำดับแห่งบท, ปทานุกรม ชื่อตำราแปลศัพท์เรียงตามลำดับแห่งบท ( อักษร ).
  8. ภาณวาร : ป. ข้อธรรมที่จัดไว้สำหรับสวด, หมวดหนึ่งมี ๘,๐๐๐ อักษร
  9. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  10. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  11. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  12. กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
  13. การนฺต : (ปุ.) ที่สุดแห่งอักษร, อักษรตัวที่สุด, อักษรตัวหลัง (ของศัพท์), ไทย การันต์ หมายถึงอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ “ ์“ กำกับไว้.
  14. กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
  15. คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
  16. คุยฺหก : (ปุ.) ความลับ, คุยหกะ ชื่อกำเนิด เทวดาอย่างที่๔ ใน ๘ อย่าง วิ. นิธโย คุยฺหตีติ คุยฺหโก. คุหุ สํวรเณ, ณฺวุ. แปลง อุ ที่ หุ เป็น ย แล้วเปลี่ยนอักษร.
  17. จิณฺห : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เป้า, รอย, ตรา, แกงได. วิ. จิหียติ อเนนาติ จิณฺหํ. จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. แปลน น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ แล้วกลับอักษร ที่ไม่ กลับเป็น จิหณ ดู จิหณ.
  18. จิตฺตกฺขร : ค. มีอักขระอันวิจิตร, มีอักษรสวยงาม
  19. ชมฺพาลี ชมฺพาฬี : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของ ไม่สะอาด, บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำครำ, ชมุ อทเน, อโล. ลง พ อักษรสุดธาตุ.
  20. ชมฺภ ชมฺภีร ชมฺภุล : (ปุ.) มะนาว, ต้นมะนาว, ส้ม, ต้นส้ม. ชมุ อทเน, ภนฺโต (ลง ภ อักษรที่สุดธาตุ), อ, อีโร, อุโล. ชมฺภฺ คตฺตวิมาเน. ส. ชมฺพีร ชมฺภีร แปลว่า มะกรูดด้วย.
  21. ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
  22. ตมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง). ตมฺ กํขายํ, ณฺวุ. ลง พ อักษรท้ายธาตุ รูปฯ ๕๙๘.
  23. ตาลุช : (ปุ. นปุ.) อักษรเกิดจาดเพดานปาก.
  24. ทณฺฑฆาต : (ปุ.) การฆ่าด้วยอาชญา, ทัณฑฆาตชื่อเครื่องหมายสำหรับฆ่าอักษร ทำให้ไม่ต้องออกเสียงอักษรตัวนั้น มีรูป ดังนี้ ์
  25. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  26. ทายิกา : (อิต.) หญิงผู้ให้, ทายิกา. ศัพท์ที่ สำเร็จมาจาก ณฺวุ ปัจ. เมื่อลง อาอิต. แล้วต้องแปลง อ ของ อักษรตัวหน้า ก (ก ที่แปลงมาจาก ณฺวุ) เป็น อิ เสมอ รูปฯ ๕๕๔.
  27. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  28. นสฺสกฺขร : (ปุ. นปุ.) อักขระที่หายไป.อักษรที่หายไปเช่นรุธิธาตุสำเร็จรูปเป็นรุนฺธติอิหายไปดังนี้เป็นต้น,อักขรวิบัติ,อักษรวิบัติ.
  29. ปรกฺขร : (ปุ. นปุ.) อักษรหนปลาย.
  30. ปุพฺพกฺขร : (ปุ. นปุ.) อักษรแรก, อักษรเบื้องต้น, ฯลฯ.
  31. พการ : ป. ตัวอักษร
  32. พุทฺธวสฺส : (ปุ. นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  33. พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  34. โภ : (อัพ. นิบาต) พ่อเฮ้ย, แนะท่านผู้เจริญ. โภ อักษรในอรรถแห่งสัมโพธะก็มี สมโณ ขลุ โภ โคตโม.
  35. มุทฺทิกา : (อิต.) แหวนตรา, หัวแหวนมีอักษร, จันทน์, จันทน์ขาว, องุ่น, กล้วยตีบ.
  36. มุทฺธช : (ปุ.) ผม (สิ่งที่งอกบนศรีษะ) วิ. มุทฺธนิ ชายตีติ มุทฺธโช. กฺวิ ปัจ. มุทธชะ เป็น คำเรียกอักษรที่เกิดเพดานปาก.
  37. มุฬฺห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โฬ. กลับอักษร เอา ฬ ไว้หน้า ห.
  38. รฏฺฐมฺมนุญฺญ : (นปุ.) รัฐธรรมนูญ ชื่อกฏหมายสูงสุดของประเทศ เป็นกฎหมายอันเป็นที่พึงพอใจของประชาชนทั้งประเทศ ประชาชนทั้งประเทศอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญนี้. รฏฺฐ+ธมฺม+มนุญฺญ ลบอักษรที่เสมอกันสามตัวเสียตัวหนึ่ง.
  39. ลิปิ : อิต. การเขียน, ตัวอักษร, อักขระ
  40. เลขา : อิต. สิ่งที่เขียน, ตัวอักษร, อักขระ, ไร่ป่า, แถว, แนว
  41. สรพฺย สรวฺย : (นปุ.) ที่หมาย, เป้า. วิ. สโร วยติ อสฺมินฺติ สรพฺยํ สรวฺยํ วา. วยฺ คติยํ, อ, วสฺสาการโลโป (ลบ อ อักษรแห่ง ว).
  42. สาทิส สาทิกฺข สาริกฺข สาริส สาที : (วิ.) เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน. วิ. สมานํ กตฺวา นํ ปสฺสติ สมาโน วิย ทิสสตีติ สาทิโส สาทิกฺโข วา สริกฺดข วา สาริโส วา สาที วา. สมานปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. แปลง สมาน เป็น ส ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แล้วแปลงที่สุดธาตุเป็น กฺข อี แปลง ทฺ อักษรต้นธาตุเป็น รฺ บ้าง.
  43. หฺชช : (วิ.) อันพึงใจ, น่าพึงใจ, น่ายินดี, ยินดี, พึงใจ. วิ. หทเย สาธุ หชฺชํ หทยสฺส วา ปิยนฺติ หชฺชํ. หทย+ณฺย ปัจ. ลบอักษรที่สุดแห่งศัพท์ คือ ย ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  44. อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์ ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
  45. อกฺขรวิธาน : (นปุ.) วิธีแห่งอักษร, อักขรวิธี.
  46. อกฺขรสตฺถ : (นปุ.) คัมภึร์แห่งอักษร, ตำราว่าด้วยอักขระ, ตำราพรรณนาถึงอักษร, อักษรศาสตร์ชื่อตำราว่าด้วยวิชาการทางหนังสือ.
  47. อกฺขราวยว : (ปุ.) ส่วนแห่งอักษร, ส่วนต่างๆแห่งอักษร.
  48. อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
  49. องฺคุลิมุทฺทา : (อิต.) หัวแหวนมีอักษร, แหวนตรา, แหวนมีอยู่ที่นิ้วมือ. วิ. องฺคุลิมุทฺทา.ส.ตัป.องฺคุลิ+มุทฺธาเป็นองฺคุลิมุทฺธา บ้าง.
  50. อชฺโฌคาฬฺห : (ปุ.) การหยั่งลง.อธิโอ ปุพฺโพ, คาหุวิโลฬเน, โต. ธาตุมีหเป็นที่สุด แปลงต เป็น หแปลงที่สุดธาตุเป็นลแปลง ล เป็น ฬรูป ฯ ๖๐๕หรือลง ฬปัจ.แล้วเปลี่ยนอักษรหรือแปลงต ปัจ. เป็น ฬฺหแล้วลบที่สุดธาตุตามบาลีไวยากรณ์.
  51. [1-50] | 51-64

(0.0731 sec)