Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อื่น , then อน, อื่น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อื่น, 282 found, display 1-50
  1. ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
  2. อญฺญตมอญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลกออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญเอวอญฺญตโมอญฺญตโร วา.อญฺญสทฺทา, สกตฺเถตโมตโรวา.
  3. อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
  4. อน : (นปุ.) เกวียน, เลื่อน.อนุปาณเน, อ. อถวา, นตฺถินาสายสฺสาติอนํ.น+นาสาลบสารัสสะอาที่นาเป็นอแปลงนอุปสรรคเป็นอ.
  5. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  6. ปรภณฺฑ : (นปุ.) ภัณฑะอื่น, ทัณฑะของคน อื่น.
  7. อญฺญตฺถอญฺญตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน....อื่น
  8. อญฺญตฺถ อญฺญตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน....อื่น
  9. อนฺตร : (วิ.) เว้น, ว่าง, อื่น.
  10. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  11. ปรจิตฺตชานน : (นปุ.) ความรู้จิตของบุคคล อื่น, ฯลฯ.
  12. อญฺญ : (อัพ. นิบาต) อื่น, นอกจาก.
  13. อปร : (วิ.) อื่น, อีกอีก (ส่วนอนาคต), ตรงกันข้าม, ต่าง ๆ, ทีหลัง, ต่อมา.ส.อปร.
  14. อมุ : (ไตรลิงค์) อื่น, โน้น, ที่นี่, ที่นี้.
  15. อิตร : (วิ.) อื่น, นอกนี้, ประการนี้, ต่างหาก, ต่ำ, สั้น. อิตรสทฺโท ปาฏิปทิโก. อญฺญตฺถ - วาจโก. อิทํสทฺทา วา ตโร, อญฺญทตฺโถ, ทํโลโป จ. ที่แปลว่า ต่ำ สั้น ส่วนมากใช้ อิตฺตร. ส. อิตร.
  16. กตญฺญุ, - ญู : ค. ผู้รู้บุญคุณที่คนอื่นได้ทำแล้วแก่ตน
  17. กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
  18. กตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำ แล้วแก่ตน โดยปกติ วิ. กตํ อุปการํ ชานาติ สีเลนาติ กตญฺญู. ผู้มีปกติรู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแก่ตน วิ. กตํ ชนิตุ   สีล มสฺสาติ กตญฺญู. ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคล อื่นทำแล้วแก่ตน วิ. กตํ อุปการํ ชานาตีติ กตญฺญู. ผู้รู้คุณท่าน. กตปุพฺโพ, ญา  ญาเณ, รู.
  19. กตปรปฺปวาท : ค. ผู้กล่าวร้ายคนอื่น
  20. กตเวที : (วิ.) ยังบุคคลให้รู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ยังบุคคลให้รู้ซึ่ง คุณอันบุคคลทำแล้วแก่ตน, ผู้ประกาศซึ่ง อุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ผู้ตอบแทน อุปการะของท่าน, ผู้ตอบแทนอุปการคุณ ของท่าน, ผู้สนองคุณท่าน, ผู้ตอบแทนคุณ ท่าน.
  21. กตูปการ : ๑. ป. อุปการะที่ทำแก่คนอื่น; ๒. ค. ผู้มีอุปการะอันกระทำแล้ว
  22. กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
  23. กย : (ปุ.) การซื้อ วิ. ก ยนํ กโย. กี ทพฺพวินิมเย, อ. กโย นาม ปรสฺส ธนํ คเหตฺวา อตฺตโน ธนสฺส ทานํ. การถือเอาสมบัติของคนอื่นแล้วให้ซึ่งทรัพย์ของตน ชื่อว่า การซื้อ.
  24. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  25. กุกฺกุฏณฺฑ : (นปุ.) ไข่ไก่. กุกฺกุฏ+อณฑ. ไข่ ของสัตว์อื่นดด นักศึกษาพึงประกอบศัพท์ โดยเอาศัพท์นี้เป็นอุ.
  26. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  27. จวติ : ก. จุติ, เคลื่อน, ตาย (จากภพหนึ่งไปเกิดในภพอื่นต่อไป), ดับไป
  28. จิรปฺปวาสี : (วิ.) ผู้ค้างแรมในที่อื่นนาน
  29. จุติจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเคลื่อนจากภพที่เกิด, จุติจิต เป็นชื่อของจิตดวงที่เคลื่อนจากภพ ที่เกิด แล้วเป็นปฏิสนธิจิตทันที ไม่มีจิต อื่นคั่น จะเกิดเป็นอะไรนั้น ก็แล้วแต่กรรม ที่ทำไว้.
  30. เจโตปริยญาณ : นป. ญาณกำหนดรู้แห่งจิตใจ (ของผู้อื่น), ความรู้จักทายใจคน
  31. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  32. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  33. ฉายาโจรกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นเค้าของ โจร, ฉายาโจรกรรมคือกิริยาที่ทำทรัพย์ ของผู้อื่นให้เสียหายและเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน มี ๒ อย่างคือ ผลาญ ทำลายล้างหรือ ทำอันตรายทรัพย์สมบัติของเขา ๑ หยิบฉวย ๑.
  34. ฉิทฺทคเวสี : ค. ผู้เพ่งโทษคนอื่น, ผู้คอยจับผิดผู้อื่น, ผู้คอยมองหาจุดอ่อนผู้อื่น
  35. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  36. ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
  37. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  38. ทาปน : นป. การยังบุคคลอื่นให้ให้ทาน, การชักชวนให้บริจาค
  39. ทุกฺขาปน : นป. การทำผู้อื่นให้เป็นทุกข์, การก่อทุกข์
  40. ทุพฺภร : ค. ซึ่งเลี้ยงได้ยาก, ซึ่งเป็นคนเลี้ยงยาก, ซึ่งปฏิบัติตนให้คนอื่นบำรุงเลี้ยงได้ยาก
  41. โทสาโรปณ : นป. การยกขึ้นซึ่งโทษ, การแส่หาโทษคนอื่น, การกล่าวร้าย, การติเตียน
  42. ธุรกิจฺจ : (นปุ.) กิจคือการงาน, กิจการงาน, ธุรกิจ คืองานประจำที่เกี่ยวกับการค้าขาย หรือกิจการอื่นที่สำคัญ ซึ่งมิใช่ราชการ.
  43. นขทารณ : (ปุ.) นกผู้มีเล็บเป็นเครื่องทำลาย สัตว์อื่น, นกผู้ทำลายสัตว์อื่นด้วยเล็บ, เหยี่ยว ชื่อนกจำพวกหนึ่งมีหลายชนิด มีเล็บยาวและคม โฉบสัตว์ที่เล็กกว่ากิน เป็นอาหาร.
  44. นิมฺมกฺข : ค. ซึ่งไม่เห็นแก่ตัว, อันไม่มักได้, ซึ่งไม่ใส่ร้ายผู้อื่น, อันไม่ลบหลู่คุณท่าน
  45. ปจฺเจกพุทฺธ : ป. ท่านผู้ตรัสรู้เฉพาะตัวมิได้สอนผู้อื่น, พระปัจเจกพุทธเจ้า
  46. ปญฺจาภิญฺญา : อิต. อภิญญาห้า, ความรู้ยิ่งห้าประการ (แสดงฤทธิ์ได้, หูทิพย์, ตาทิพย์, รู้ใจคนอื่น, ระลึกชาติได้)
  47. ปตฺตานุโมทนา : (อิต.) ความยินดีตามซึ่งส่วนบุญอันถึงแล้ว, การอนุโมทนาซึ่งส่วนบุญ อันมาถึงแล้ว. ปตฺตาปตฺติ + อนุโมทนา. การอนุโมทนาส่วนบุญที่ผู้อื่นให้แล้ว ทินฺนปตฺติ + อนุโมทนา ลบ ทินฺน, การ อนุโมทนาส่วนบุญ ปตฺติ + อนุโมทนา.
  48. ปมทวน : (นปุ.) สวนนางข้างใน ( สวนหลวง ทรงให้สร้างขึ้นเพื่อนางข้างใน ไม่ใช่เป็น ที่เที่ยวของชนอื่น ) วิ. ปมทานํ วนํ ปมทาวนํ. รัสสะ อา ที่ ทา เป็น อ.
  49. ปร : อ. เบื้องหน้า, ถัดไป, ต่อจาก, พ้นไป, ในฝ่ายอื่น
  50. ปรกต : ค. ที่ผู้อื่นกระทำไว้, ผู้อื่นหรือสิ่งอื่นสร้างขึ้น
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-282

(0.0373 sec)