Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อุบะ , then อบ, อุบ, อุบะ, อุป, อุปะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อุบะ, 420 found, display 1-50
  1. อาเวลา : อิต. พวงมาลัย, เครื่องประดับศีรษะ, อุบะ
  2. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  3. อาเวฬ : ป. มาลัยประดับศีรษะ, พวงอุบะ
  4. อุปค : (ปุ.) การเข้าถึง, การเข้าไป, การเข้าไปใกล้, ความเข้าถึง, ฯลฯ. อุป+คมฺ+กฺวิ, ยุ ปัจ.
  5. อุปคมน : (นปุ.) การเข้าถึง, การเข้าไป, การเข้าไปใกล้, ความเข้าถึง, ฯลฯ. อุป+คมฺ+กฺวิ, ยุ ปัจ.
  6. อุปคุยฺห : (ปุ.) ราชพาหนะหลวง. อุป+คุหฺ สํวรเณ, ยปจฺจโย, ยกฺปจฺจโย วา. เปลี่ยน ย ไว้หน้า ห.
  7. อุปคูหณ : (นปุ.) การสวมกอด. อุป+คุหฺ สํวรเณ, ยุ.
  8. อุปจฺจย : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด. อุป อติ ปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อติ เป็น จฺจ.
  9. อุปชฺฌ : (ปุ.) อุปัชฌาย์ วิ. มนสา อุเปจฺจ วชฺชาวชฺชํ ฌายตีติ อุปชฺฌา (ผู้เพ่งโทษ น้อยใหญ่ของศิษย์). อุป+เฌ+อ ปัจ.
  10. อุปญฺญาส : (ปุ.) คำนำเรื่อง, อารัมภกถา. วิ. อุป ปฐมํ ปุริมวจนสฺส สมีปํ วา นฺยาโส ฐปนํ อุปญฺญาโส. อุป นิ ปุพฺโพ อาสฺ อุปเวสเน, อ. แปลง อิ ที่ นิ เป็น ย รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. สาวัตถทีปนี เป็น อุปญาส.
  11. อุปนคร : (นปุ.) ที่ใกล้เมือง. อุป (สมีป)+นคร.
  12. อุปนิสา : (อิต.) เหตุ, ข้อลี้ลับ, ข้อลับ. วิ. อุปนิสีทติ ผลํ เอตฺถาติ อุปนิสา. การเณ รหสิปิ อุปนิสา. อุป นิ ปุพฺโพ, สิทฺ วิสรเณ, อ, ทฺโลโป.
  13. อุปวน : (นปุ.) สวน, สวนใหญ่, สวนดอกไม้. วิ. อุปคตํ อุปโรปิตํ วา วนํ อุปวนํ. ป่า ใกล้, ป่าใกล้เคียง. วิ. สมีปํ วนํ อุปวนํ. วิ. ใช้ สมีป แทน อุป. ที่ใกล้แห่งป่า วิ. วนสฺส สมีปํ อุปวนํ. กลับบทหน้าไว้หลัง.
  14. อุปวฺหย : (ปุ.) การเจรจากัน, การพูดจากัน. อุป อา ปุพฺโพ, เวฺห อวฺหาเณ, โย.
  15. อุปสงฺกมน : (นปุ.) การเข้าไปใกล้, การเข้า ใกล้. อุป สํ ปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, ยุ.
  16. อุปสมฺปทา : (อิต.) การถึงพร้อมในธรรมเบื้อง บน (สูง). อุปริ+สมฺปทา ลบ ริ. การถึง พร้อม, การเข้าถึงพร้อม, การยังกุศลให้ถึง พร้อม. อุป+สํ+ปทา, การอุปสมบท (บวช เป็นภิกษุ). ส. อุปสมฺปทฺ.
  17. อุปสเสว : (ปุ.) การเข้าไปคบ, การเข้าไปคบ หา, การเข้าไปเกียวข้อง. อุป สํ ปุพฺโพ, เสวฺ เสวเน, อ.
  18. อุปกม อุปกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปก่อน, ความหมั่น, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ศัพท์หลังซ้อน กฺ. ส. อุปกฺรม.
  19. อุปการิกา : (อิต.) เชิงเทิน, วิ. สํคมฺม กโรติ ตนฺติ อุปการิกา. อุปปุพฺโพ, กร. กรเณ, ณฺวุ.
  20. อุปคุตฺต : (ปุ.) อุปคุต ชื่อพระเถระ.
  21. อุปคูหน : นป. ดู อุปคูหณ
  22. อุปฆาต : (ปุ.) การเข้าไปกระทบ, การเข้าไป ทำร้าย, การเข้าไปเบียดเบียน, การเข้าไป ฆ่า, วิ. อุปหนตีติ อุปฆาโต. อุปปุพฺโพ, หนฺ หีสายํ, โณ, หนสฺส ฆาโต. แปลง ต เป็น ฏ เป็น อุปฆาฏ บ้าง.
  23. อุปฆาตกมฺม : (นปุ.) การเข้าไปกระทบ, ฯลฯ, อุปฆาตกรรม (กรรมตัดรอน).
  24. อุปฆาตน : นป. ดู อุปฆาต
  25. อุปฆาติก, - ฆาตี : ดู อุปฆาตก
  26. อุปจฺจกา : (อิต.) พื้นใกล้ส่วนเบื้องต่ำแห่งภูเขา, พื้นดินเชิงเขา. วิ. เสลสฺส อโธภาคาสนฺน- ภูมิ อุปจฺจกา. อุปศัพท์นิบาต จฺจก ปัจ. อา อิต.
  27. อุปจฺเฉทน : (นปุ.) การเข้าไปตัด, การตัด, การตัดขาด. อุปปุพฺโพ, เฉทฺ เทฺวธากรเณ, อ, ยุ.
  28. อุปจย : (ปุ.) การสั่งสม, การก่อสร้าง. อุปปุพฺโพ, จิ. จเย, อ.
  29. อุปจิก : (ปุ.) ปลวก. อุปปุพฺโพล จิ จเย, โก, อิโก วา.
  30. อุปเฉท อุปจฺเฉท : (ปุ.) การเข้าไปตัด, การตัด, การตัดขาด. อุปปุพฺโพ, เฉทฺ เทฺวธากรเณ, อ, ยุ.
  31. อุปชฺช : (ปุ.) ภพอันสัตว์เข้าถึงไม่มีระหว่างคั่น, ภพที่สอง, ภพหน้า. อุปปพฺโพ, ปทฺ คติยํ, อ. แปลง ท เป็น ช แล้วแปลงเป็น ชฺช.
  32. อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
  33. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  34. อุปชาป : (ปุ.) การทำให้แตกกัน, การทำลาย. อุปปุพฺโพ, ชปฺ วจเน, โณ. ส. อุปฌาป.
  35. อุปญฺญสฺสติ : ก. ดู อุปชานาติ
  36. อุปฏฺฐ หน : (นปุ.) การอุปถัมภ์, การบำรุง. อุปปุพฺโพ, ฐา คตินิวตฺติยํ, ยุ, ฏฺสํโยโค, หฺอาคโม.
  37. อุปฏฐาติ : ก. ดู อุปฏฐหติ
  38. อุปฏฺฐาน : (นปุ.) การอุปถัมภ์, ฯลฯ, ที่บำรุง, ที่เป็นที่บำรุง, ที่เป็นที่เข้าไปยืน, โรงฉัน. วิ. อุปคนฺตฺวา ติฏฺฐติ เอตฺถาติ อุปฏฺฐานํ. ยุ ปัจ.
  39. อุปฏฐาปน : นป. ดู อุปฏฐาน
  40. อุปฑส : (ปุ.) กามโรค, โรคเอดส์. อุปปุพฺโพ, ฑํสฺ ฑํสณ, อ.
  41. อุปณาหี : (วิ.) ผู้ผูกโกรธ, ผู้ผูกใจเจ็บแค้น. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, ณี. แปลง น เป็น ณ.
  42. อุปตฺติ อุปฺปตฺติ : (อิต.) การเกิด, การเกิดขึ้น, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ, เหตุ, เหตุเครื่องบังเกิด, กำเนิด, การลง อุ. วิภตฺตุปฺปตฺติ การลงวิภัติ. อุปุพฺ โพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วิ. อุปฺปชฺชนํ อุปตฺติ อุปฺปตฺติ วา. คำหลังซ้อน ป. ไทยใช้อุบัติ เป็นกิริยา ในความว่า เกิด เกิดขึ้น ใช้เป็น นามว่า การเกิดขึ้น. กำเนิด เหตุ รากเหง้า. ส. อุตฺปตฺติ.
  43. อุปตฺถมฺภน : นป. ดู อุปตฺถมฺภ
  44. อุปตาปน : นป. ดู อุปตาป
  45. อุปตาปิก : ค. ดู อุปตาปก
  46. อุปถมฺภก อุปถมฺภกกมฺม : (นปุ.) อุปถัม- ภกกรรม (กรรมที่สนับสนุนส่งเสริม ชนกกรรม).
  47. อุปทฺทว : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปประทุษ ร้าย, อันตรายเครื่องเข้าไปเบียดเบียน, ความคับแค้น, ความลำบากยากแค้น. ความอัปรีย์, ความจัญไร, จัญไร, อันตราย, อุปัททวะ, อุบาทว์. วิ. อุปคนฺตวา ทุโนตีติ อุปทฺทโว. อุปปุพฺโพ, ทุ ปริตาเป หึสายํ วา, อ. อุปคนฺตฺวา ทวตีติ วา อุปทฺทโว. อุปทวนํ วา อุปทฺทโว. ส. อุปทฺรว.
  48. อุปทฺทเวติ : ก. ดู อุปทฺทวติ
  49. อุปทสฺเสติ : ก. ดู อุปทํเสติ
  50. อุปทา อุปาทา : (อิต.) ของกำนัลที่ส่งไปให้, ของฝาก, บรรณาการ. (ของที่ส่งไปให้ด้วย ความเคารพนับถือ หรือด้วยไมตรี). วิ. อุปคนฺตฺวา ทาตพฺพโต อุปทา. อุปคนฺตฺวา- ปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. อุปทา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-420

(0.0630 sec)