Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เขล , then ขล, เขล, เขละ, เขลา, เขฬ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เขล, 54 found, display 1-50
  1. เขล เขฬ : (ปุ.) น้ำลาย วิ. ขํ อากาสํ อิลตีติ เขโล เขโฬ วา. ขปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, โณ, อิสฺเส. ขียตีติ วา เขโฬ. ขี ขเย, โฬ. เขฬตีติ วา เขโฬ เขฬฺ คติยํ,อ. ขลฺ วา สญฺจิน- นจลเนสุ โณ, อสฺเส. เป็น อิต. นปุ. ก็มี.
  2. ขล : (วิ.) ไหว, พลาด, ผิด, ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ชั่ว, หย่อน, หยาบ, หยาบคาย, กระด้าง. ขลฺ จลเน, อ. รวม, รวบรวม, สะสม. ขลฺ สญฺจินเน, อ. ชำระ, ล้าง, สะอาด. ขลฺ โสเจยฺเย, อ.
  3. เขฬ : ป. เขฬะ, น้ำลาย, เสมหะ, เสลด
  4. ขล ขฬ : (นปุ.) ลาน, ลานนวดข้าว, ลานข้าว. ขลฺ สญฺจินเน, อ.
  5. ขลก ขลุงฺก ขฬุงฺก : (ปุ.) ม้ากระจอก, ม้า เขยก. วิ. ขรํ คจฺฉตีติ ขลํโค จลุงฺโค ขฬุงฺโค วา. โส เอว ขลํโก, ฯลฯ. คการสฺส กกาโร, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น ขลํค, ฯลฯ และเป็น ขลุก, ฯลฯ. บ้าง.
  6. ขลกาล : ป.ฤดูนวดข้าว, กาลนวดข้าว
  7. ขลติ : ก. ลื่น, พลาดเท้า, สะดุด
  8. เขฬมลฺลก : ป. กระโถน
  9. เขฬสิก, เขฬากปฺป : ค. ผู้กลืนกินน้ำลาย (เป็นคำที่หยาบคายหรือใส่โทษ), ผู้ติดในลาภสักการะ
  10. ขีล : (วิ.) กระด้าง, ดื้อ, ตรึงตรา (ติดแน่น). ขีลฺ ปฏิตฺถมเถ, อ.
  11. ถูล : (วิ.) เต็ม, ฯลฯ, หนัก, เขลา, โง่, ถูลฺ ปริพฺรูเน, อ.
  12. ทนฺธ : (วิ.) โง่, เขลา, เงื่อง, เฉื่อย, เฉื่อยชา, เฉื่อยช้า, ช้า, ทราม. ทธิ อสีฆจาเร, อ.
  13. นิปญฺญ นิปฺปปญฺญ : (วิ.) มีปัญญาออกแล้ว, ไม่มีปัญญา, ไร้ปัญญา, พาล (เขลา), เขลา, โง่.
  14. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  15. พาลฺย : (วิ.) โง่, เขลา, เซ่อ, เซอะ.
  16. มุณฺห : (วิ.) หลง, เขลา, โง่. มุหฺ เวจิตฺเต, ยุ.
  17. อวิญฺญู : (วิ.) มิใช่ผู้รู้แจ้ง, มิใช่ผู้รู้แจ้งโดยปกติ, เขลา, โง่, ไม่รู้เดียงสา.วิ.วิเสสํชานาติ.สีเลนาติอวิญฺญู.วิญฺญูปฏิปกฺโขอวิญฺญู.
  18. ขลิ : (อิต.) น้ำข้าว.
  19. ขลุ : อ. แน่แท้, แท้จริง, ได้ยินว่า
  20. ขิล, ขิฬ : นป. ความด้าน, ความกระด้าง; ที่ซึ่งปลูกอะไรไม่ขึ้น
  21. เจโตขิล, - ขีล : ป. ตะปูตรึงใจ, ความเคลือบแคลงดุจเสี้ยนแทงใจ, ความกระด้างแห่งจิตใจ, ความเสื่อมเสียทางใจ
  22. อุทุกฺขล : (ปุ. นปุ.) ครก.
  23. เฉก : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, เฉียบแหลม. ฉิทิ เทฺวธากรเณ, อ. แปลว่าเชื่อง, โง่, เขลา ก็มี. ส. เฉก, เฉกฺร.
  24. ขลฺลาฏ : (ปุ.) คนหัวล้าน วิ. นิกฺเกสตฺตา ขํ ตุจฺฉํ สีสํ ลาตีติ ขลฺลาโฏ. ขปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อโก. ขล ขลนสญฺจเยสุ วา. ซ้อน ลฺ เป็น ขลฺลาต บ้าง.
  25. อสีฆจาร : (วิ.) ช้า, เนือย, เขลา.
  26. โกณฺฑ : (วิ.) เขลา, โฉด, ชั่ว, ด้วน. กุ กุจฺฉยํ, โฑ, ณฺสํโยโค.
  27. ขลน : (นปุ.) การไหว, ความไหว, ฯลฯ. ขลฺ จลเน, ยุ.
  28. ฉล : (นปุ.) การล่อลวง, การโกง, การพลั้ง – พลาด, ความล่อลวง, ฯลฯ. ขลฺ จลเน, อ, ขสฺส โฉ. ส. ฉล.
  29. ชฑ : ค. โง่เขลา, ใบ้
  30. ชฬ : (วิ.) เขลา, โง่, โง่เขลา, โง่เง่า (โง่มาก), เงอะงะ, เซอะซะ. ชลฺ อปวารเณ, อ. แปลง ล เป็น ฬ.
  31. ชฬตฺต : (นปุ.) ความที่แห่ง...เป็นคนเขลา, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเขลา, ฯลฯ.
  32. ตม : (วิ.) มืด, ผู้มืด. ติมฺ เตมเน, อ. แปลง อิ เป็น อ. โง่เขลา. ตมฺ กํขายํ. ส. ตม.
  33. ทตฺตุ : (วิ.) เขลา, โง่. ทา กุจฺฉิตคมเน, ตุ, ทฺวิตฺตํ, รสฺโส จ.
  34. ทนฺธตา : อิต. ความเป็นคนเฉื่อยชา, ความโง่เขล
  35. ทนฺธายิตตฺต : นป. ความเป็นคนเขล
  36. ทปฺป : (วิ.) เขลา, โง่, กระด้าง, หยิ่ง, จองหอง, โอ้อวด, ไว้ตัว, อหังการ. ทา กุจฺฉิตคมเน, อโป, รสฺโส, ปฺสํโยโค. หรือลง อพฺพ ปัจ. แปลง พ เป็น ป.
  37. ทพฺพ : (วิ.) เขลา, ฯลฯ. ทา กุจฺฉิติคมเน, อพฺโพ.
  38. ทพฺพน : (นปุ.) ความเขลา, ฯลฯ. ทุ. กุจฺฉิต คมเน, ยุ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ
  39. พลฺย : นป. ความเป็นผู้มีกำลัง, ความแข็งแรง; ความโง่เขล
  40. พาลกี : ค. ผู้มีความโง่เขล
  41. พาลิส : (วิ.) เขลา, โง่. พาล+อิส สกัด.
  42. มนฺท : (วิ.) เขลา, โง่, โง่เขลา, พาล (อ่อน), อ่อน, อ่อนแอ, เพลีย, มัว, รางๆ. มนฺทฺ ชฬตฺเต, อ.
  43. มุทฺธ : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ.
  44. มุฬฺห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โฬ. กลับอักษร เอา ฬ ไว้หน้า ห.
  45. โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
  46. โมห : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ.
  47. โมหาคติ : (อิต.) ความลำเอียงด้วยความเขลา, ความลำเอียงเพราะความเขลา, ฯลฯ, ความลำเอียงอันเกิดจากความเขลา, ฯลฯ.
  48. อญฺญาณี : (ปุ.) คนหลง, คนเขลา, คนโง่, คนพาล.
  49. อนฺธการ : (ปุ.) กาลผู้กระทำซึ่งมืด, สภาพผู้กระทำซึ่งมืด, ความมืดทำซึ่งความเป็นผู้บอด, ความมืด, ความมืดมัว, ความเขลา, วิ.อนฺธํหตทิฎฺฐิสตฺติกํโลกํกโรตีติอนฺธกาโร.ส. อนฺธการ.
  50. อโมห : (วิ.) ไม่มีความหลง, ไม่โง่เขลา, มีปรีชา
  51. [1-50] | 51-54

(0.0628 sec)