Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข่า , then ขา, เข่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข่า, 206 found, display 1-50
  1. ชานุมณฺฑล : นป. บริเวณแห่งเข่า, วงรอบเข่า, แค่เข่า, เข่า
  2. ปญฺจปติฏฺฐิต : นป. เบญจางคประดิษฐ์, การหมอบลงกราบกับพื้นด้วยส่วนทั้งห้า (หน้าผาก ๑, มือ ๒, เข่า ๒)
  3. ชณฺณุ : นป., ชณฺณุกา อิต. เข่า
  4. ชาณุ : ป. เข่า
  5. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  6. ชานุ, ชานุก : นป. เข่า
  7. มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
  8. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  9. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  10. ชนฺนุ ชนฺนุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. ดู ชณฺณุ.
  11. อุรุปุพฺพ : (นปุ.) หัวเข่า, ข้อขา.
  12. จตุกฺกุณฺฑิก : ค. ผู้เดินด้วยอวัยวะสี่ (มือทั้งสองและเข่าทั้งสอง), ผู้คลาน
  13. ชณฺณุตคฺฆ : (วิ.) มีเข่าเป็นประมาณ ชณฺณุ + ตคฺฆ.
  14. ชณฺณุมตฺต, ชณฺณุคคฺฆ : ค. ลึกแค่เข่า, ลึกประมาณเข่า
  15. ชาณุปฺปมาณ ชานุปฺปมาน : (วิ.) มีเข่าเป็น. ประมาณ, ประมาณเข่า.
  16. ชาณุผลก ชานุผลก : (นปุ.) สะบ้าหัวเข่า.
  17. ชาณุมณฺฑล : นป. สะบ้าหัวเข่า
  18. ชาณุมตฺต : ค. ประมาณเข่า
  19. ชานุปฺปมาณอุรุปฺปมาณกฏิปฺปมาณาทิ : (วิ.) มีน้ำมีเข่าเป็นประมาณและมีน้ำมีขาอ่อน เป็นประมาณ และมีน้ำมีสะเอว เป็นประ มาณเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตุล, ฉ. ตุล., ฉ.ตุล. และ ส.ทวัน. เป็นท้อง.
  20. มหาชานุก : (ปุ.) คนมีเข่าใหญ่, คนเข่าโป้ง.
  21. อทฺทุว : (นปุ.) หัวเข่า.
  22. อาโยค : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องประกอบยิ่ง, ความเพียร, การรัดเข่า, ผ้ารัดเข่า.อาปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ.
  23. อูรุปพฺพ : นป. ข้อต่อเข่า, หัวเข่า
  24. ปาสาณเลข, - ขา : ป., อิต. รอยเขียนบนหิน, ศิลาจารึก, การเขียนบนแผ่นหิน
  25. ขาริก : ๑. ค. มีรสเค็ม, มีรสแสบ; ๒. ค. เนื่องด้วยมาตราตวงชื่อว่า ขารี
  26. ขาริ ขารี : (อิต.) ขารี ชื่อมาตราตวง ๔ มาณิ- กาเป็น ๑ ขารี วิ. จตุสฺสนฺนํ มาณิกานํ สฺมูโห ขารี นาม. แปลว่า สาแหรก ก็มี.
  27. ขาตุตหุ : นป. คู, คลอง
  28. ขาทก : ค. ผู้กิน, ผู้อาศัย (อาหาร) เป็นอยู่
  29. ขาทน : (นปุ.) การกัด, การกิน, การกัดกิน, การเคี้ยวกิน. ขาทฺ ภกฺขเณ, ยุ.
  30. ขาทา : อิต. อาหาร
  31. ขาทาปน : นป. การให้เคี้ยวกิน, การป้อน
  32. ขาทาเปติ : ก. ให้เคี้ยวกิน, ป้อน
  33. ขาทิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งอันเขาเคี้ยวกินแล้ว, การถูกเคี้ยวกินแล้ว
  34. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  35. ขาทิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การเคี้ยวกิน, เพื่อเคี้ยวกิน
  36. ขานิก : (นปุ.) โพรง, รู, ช่อง, ปล่อง.
  37. ขารก : (ปุ.) ดอกไม้เพิ่งผลิ, ดอกไม้เพิ่งจะ แตกออก. ขรฺ วินาเส, ณฺวุ.
  38. ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
  39. ขาริกาช, ขาริวิธ : ป., นป. สาแหรก, เครื่องหาบบริขารของพวกดาบส
  40. ขาริ, ขารี : อิต. มาตราตวงเท่ากับ ๓ มาณิกา
  41. ขาริภาร : (ปุ.) เครื่องหาบ.
  42. ขาโรทก : (นปุ.) น้ำด่าง.
  43. ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
  44. ติติกฺขา : (อิต.) ความอดทน, ความอดกลั้น, ความทนทาน, ความอดใจ, ความบึกบึน. ติชฺ ขนฺติยํ, โข. เทว๎ภาวะ ติ แปลง ชฺ เป็น กฺ อาอิต. เป็น ตีติกฺขา บ้าง.
  45. เทวขาตก : (นปุ.) เหมืองน้อย วิ. เทเวน ขาตํ เทวขาตกํ (เทวดาขุด เนรมิต). ก สดัด. ส. เทวขาต.
  46. มุขาธาน : (นปุ.) บังเหียน, บังเหียนม้า. วิ. มุขํ อติฏฺฐตีติ มุขาธานํ. มุข+อา+ฐา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ฐา เป็น ธา.
  47. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  48. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  49. อสงฺขาริก : (นปุ.) ความไม่ปรุงแต่ง. วิ.อสงฺขโรเยวอสงฺขาริกํ.ณิกปัจ.สกัดรูปฯ ๓๖๐.
  50. อุกฺขลิ อุกฺขา อุขา : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, กระถาง. วิ. อุสตีติ อุกฺขลิ. อุสฺ ทาเห, อิ, สสฺส ขลาเทโส, กฺสํโยโค. คำที่ ๒, ๓ ตั้ง อุขฺ คมเน, อ. คำที่ ๒ ซ้อน กฺ. ส. อุขา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-206

(0.0665 sec)