Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องกระจายเสียง, เครื่อง, กระจาย, เสียง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องกระจายเสียง, 948 found, display 1-50
  1. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  2. กรณ : (วิ.) (วตฺถุ) เป็นเครื่องทำ, (อวยว) เป็นเครื่องทำเสียงให้เกิด. วิ. กโรติ เตนา ติ กรณํ. กรียเต เตนาติ วา กรณํ. เป็นที่ทำ วิ. กโรนฺติ เอตฺถาติ กรโณ. กรฺ กรเณ, ยุ.
  3. กากบาท : (ปุ.) เท้าของกา, กากบาท ใช้เรียก รูปวรรณยุกต์ + เมื่อลงวรรณยุกต์นี้แล้ว ออกเสียงจัตวา และใช้เรียกรูป + (บวก) และรูป X (คูณ) คือใช้เรียกได้ทั้งเครื่อง หมายบวกและเครื่องหมายคูณ.
  4. กึกิณิกา : (อิต.) กระดิ่ง ชื่อเครื่องทำเสียง สัญญาณ รูปคล้ายระฆัง, กระดึง ชื่อ เครื่องโลหะหรือเครื่องไม้ รูปคล้ายกระดิ่ง ใช้แขวนคอวัวควาย เพื่อให้เกิดเสียงผู้เลี้ยง จะได้รู้ว่าอยู่ที่ไหน.
  5. : (ปุ.) เสียง, สำเนียง, เสียงร้อง. ฏี ปกฺขนฺทเน, อ. การปิด, การปกปิด, การกำบัง, เครื่องปิด, ฯลฯ ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ. นก. ฏิ ฏี วา อากาสคมเน, อ.
  6. ฐานกรณ : (นปุ.) ที่ตั้งและวัตถุเป็นเครื่องทำ (ให้เกิดเสียงในการพูด).
  7. ตุริย : (นปุ.) ดนตรี, เครื่องสาย, เครื่องดีดสีตีเป่า, หีบเสียง. กัจฯ และ รูปฯ เป็น ตูริย. ส. ตูร ตูรี.
  8. สาธุการ : (ปุ.) เสียงเครื่องกระทำว่าสาธุ, การเปล่งวาจาว่าชอบ, การเปล่งวาจาว่าชอบแล้ว, การแสดงความยินดี, การแสดงความยินดีด้วย, การแสดงความเห็นชอบด้วย.
  9. โสตายตน : (นปุ.) ที่เป็นต่อคือ หู, เครื่องติดต่อคือหู, อายตนะคือหู ประสาทหู (หมายเอาประสาทรับรู้เสียง).
  10. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  11. : (ปุ.) ศัพท์, เสียง, งู. ฒิ มุยฺห, อ.
  12. นาท : (ปุ.) การบันลือ, การแผดเสียง, ความบันลือ, ความแผดเสียง, เสียง, เสียงร้อง, เสียงบันลือ. วิ. นทนํ นาโท. นทฺ อพฺยตฺสทฺเท, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นาท.
  13. ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
  14. ผุลฺล : (วิ.) แผ่, ขยาย, กระจาย, แผ่ไป, กระจายไป. ผุลฺ ผรเณ, โล.
  15. รณ : (ปุ.) การร้อง, เสียง, เสียงร้อง, การรบ, สงคราม, กิเลส, ความชั่ว, ความเสียหาย, บาป. รณฺ สทฺเท, อ.
  16. รสนา : อิต. ลิ้น; สายรัดเอว; ความยินดี, ความอร่อย; เสียง
  17. วิตฺถมฺเภติ : ก. สูบควัน; กระจาย, ขยายตัว, พอง
  18. สราว : ป. การร้อง; เสียง
  19. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  20. กญฺจุก : (ปุ.) ผ้า, ผ้าโพกหัว, หมวก, เสื้อ, เสื้อกั๊ก, เกราะ, หีบ, ซอง, ฝักมีด, เครื่อง ปกคลุม, คราบงู. กจฺ พนฺธเน, อุโก, นิคฺคหิตาคโม.
  21. กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
  22. กายน : (นปุ.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง ร้อง. กุ สทฺเท, ยุ. แปลง อุ เป็น อาย.
  23. กิตฺติสทฺท : (ปุ.) เสียงสรรเสริญ, ฯลฯ, เสียง เลื่องลือคุณ.
  24. จตุปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปสี่, เครื่อง อาศัยเลี้ยงชีวิตสี่อย่าง, ปัจจัยสี่. ปัจจัยสี่ คือจีวร (ผ้า) บิณฑบาต ( ข้าวปลาอาหาร ) เสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) และคิลานเภสัช (ยารักษาโรค).
  25. ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
  26. ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
  27. อฏฺฐรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องลาด, เครื่อง ลาดทำด้วยขนสัตว์ (สำหรับปูพื้น), เครื่องลาด, เครื่องปู. อาปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, ยุ, รสฺโส, ถสฺส โฐ, ฏฺสํโยโค.
  28. อุณฺณามย : (ปุ.) เครื่องลาดเป็นวิการแห่ง ขนสัตว์, เครื่องลาดทำด้วยขนสัตว์, เครื่อง ลาดแล้วด้วยขนสัตว์. อุณฺณาโลม
  29. กามคุณ : (ปุ.) ชั้นของกาม, ส่วนอันเป็นกาม, ส่วนที่ปรารถนา, กามคุณ ได้แก่รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ อันพึงใจ.
  30. ขฏขฏ : ค. (เสียง) ขฏะขฏะ
  31. คชฺชิ คชฺชี : (ปุ.) เสียง. คชฺชฺ สทฺเท, อิ, อี.
  32. คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
  33. : (ปุ.) ความระคน, ความเป็นใหญ่ยิ่ง, ความสะดุ้ง, เสียง. อภิฯ น. ๔๖๒.
  34. ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
  35. ธนิ : (ปุ.) เสียง. ธนฺ สทฺเท. อิ. รูปฯ ๖๖๓.
  36. นินท : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นโท นินโท. ส. นินท.
  37. นินท, นินาท : ป. เสียง
  38. นินนาทิ : (วิ.) (เสียง) มีกังวาน วิ. นินฺนาโท เอตฺถ อตฺถีติ นินฺนาทิ. อิ ปัจ.
  39. นินาท : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นาโถ นินาโท. ส.นินาท. หมายถึงเสียงทั่วไป.
  40. นิสฺสน : ป., นป. เสียง
  41. พณ : ป. เสียง
  42. พาณ : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกปืน, เสียง. วิ. วณฺยเต อเนนาติ พาโณ. วณฺ สทฺเท, โณ. แปลง ว เป็น พ.
  43. รวา : อิต. เสียง
  44. อนุนาสิก : ค. ซึ่งเกิดทางจมูก (เสียง)
  45. อวิสารี : (วิ.) ไม่เครือพร่า (เสียง...)วิ. พหิทฺธาปริสํองฺคุลิมตฺตมฺปินวิสรตีติอวิสารี.นวิปุพฺโพ, สรฺคติยํ, ณี.วิวิเธนนสรตีติวาอวิสารี.
  46. อุคฺคตฺถน : (นปุ.) เครื่องประดับทรวง. วิ. คาวีนํ ถนาการตฺตา คตฺถนํ. โอสฺสตฺตํ (แปลง โอ แห่ง โค ศัพท์ เป็น อ). ต เมว อุตฺตมตฺตา อุคฺคตฺถนํ. แปลว่า เครื่อง ประดับหน้า, เครื่องประดับหน้าผาก, เครื่องประดับไหล่ บ้าง.
  47. อุปรว : นป. เสียง
  48. กกณ กงฺกณ : (นปุ.) กังกณะ ชื่อเครื่อง ประดับแขนชนิดหนึ่ง, กำไลมือ, กา สทฺ เท, กณปจฺจโย, กณฺ สทฺเท วา, อ, ทฺวิตฺตํ; กณิ คติยํ วา, ยุ, นิคฺคหิตาคโม จ. ส. กงฺกณ.
  49. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  50. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-948

(0.0573 sec)