ตุณฺห : (วิ.) นิ่ง ( เฉย เงียบ ไม่กระดุกกระดิก ไม่เคลื่อนไหว). ตุหฺอทฺทเน,โณฺห,หโลโป. อทฺทน แปลว่า เบียดเบียน ทำอันตราย ในที่นี้หมายความว่า เบียดเบียนความดัง หรือความเคลื่อนไหว.
อุเปกฺขนา : (อิต.) กิริยาที่วางเฉย, ความวาง เฉย.
ขนฺติก : ค. ผู้อดทน, ความนิ่งเฉย
นิรงฺกโรติ : ก. เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่, ละทิ้ง, ไม่แยแส, ไม่คำนึง, สบประมาท
นิรุสฺสุกฺก : ค. ไม่สนใจ, วางเฉย, ไม่แยแส
ปตฺถทฺธ : (วิ.) ปั้นปึ่ง (วางท่าเฉยไม่พูดจา), เย่อหยิ่ง, ไม่พอใจ, ไม่ใยดีด้วย. ป + ถทฺธ ศัพท์ ซ้อน ตฺ.
ปมตฺต : ค. ผู้ประมาท, ผู้มัวเมา, ผู้เลินเล่อ, ผู้เผลอสติ, ผู้ปล่อยปละละเลย, ผู้เพิกเฉย
วิมุข : ค.ข้างหลัง; เพิกเฉย
อชฺฌุเปกฺขติ : ก. วางเฉย, อุเบกขา, คอยดู
อชฺฌุเปกฺขน : นป. อชฺฌุเปกฺขนา อิต. อุเบกขา, ความวางเฉย, การเฝ้าดู
อชฺฌุเปกฺขนา : (อิต.) กิริยาที่วางเฉย, การวางเฉย.
อนุปธาเรตฺวา : กิต. ไม่ใคร่ครวญแล้ว, เพิกเฉยแล้ว
อปฏฺฐเปติ : ก. ไม่ให้ตั้งอยู่, เพิกเฉย
อพฺโพหาริก,- ริย : ค. กล่าวอ้างไม่ได้, กล่าวไม่ได้ว่ามี, เพิกเฉย, พิเศษ
อวการรี : ค. ดูหมิ่น, ละเลย, เพิกเฉย
อวฺยาวฏ : ค. ไม่ห่วง, ไม่กังวล, ไม่ขวนขวาย, ประมาท, สะเพร่า, เพิกเฉย
อวรชฺฌติ : ก. ผิดพลาด, ล้มเหลว, เพิกเฉย
อุเปกฺขก : ค. ผู้เข้าไปเพ่ง, ผู้มีความวางเฉย, ผู้มีใจเป็นกลาง
อุเปกฺขติ : ก. เข้าไปเพ่ง, เข้าไปเห็น, วางเฉย, ไม่เอนเอียง
อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
ธมฺมวินิจฺฉย : ป. การวินิจฉัยโดยธรรม, การตัดสินโดยธรรม
นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
วินิจฺฉย : ป. การตัดสิน, การชี้ขาด, การใคร่ครวญ
อาปุจฺฉา, - ฉิย : กิต. ถามโดยเอื้อเฟื้อแล้ว, บอกลาแล้ว, อนุญาตแล้ว
นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.