ธุว : (วิ.) เที่ยง, คงที่, มั่นคง ประจำ, ยืนที่, ยั่งยืน, แน่วแน่, แน่นอน, เนือง, เนืองๆ, บ่อย, ทุกเมื่อ, เป็นนิตย์. ธุ คติเถริเยสุ, อ, ธุวาเทโส. ส. ธฺรุว.
สาตจฺจ : (วิ.) ติดต่อโดยรอบ, เป็นไปติดต่อ, เป็นไปติดต่อกัน, เป็นไปไม่ว่างเว้น, เป็นไปไม่ขาดสาย, เป็นไปเป็นนิตย์, เป็นนิตย์, เที่ยง, เนือง, บ่อย ๆ, เสมอ ๆ, ทุกเมื่อ. สตต+ณฺย ปัจ. สกัด แปลง ตฺย เป็น จฺจ ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
นิพทฺธ นิวทฺธ : (วิ.) เนื่องมีระหว่างออกแล้ว, เนื่องมีระหว่างคั่นไม่มี, เนื่องไม่มีระหว่าง คั่น, เนื่องกัน, ติดต่อกัน, เนืองๆ, เนือง นิตย์, เสมอ, ประจำ.
อภิณฺห : ก.วิ. บ่อย ๆ, เนือง ๆ, เรื่อยไป
อวิรต : (วิ.) เที่ยง, ทุกเมื่อ, สะดวก, เนือง ๆ, เป็นนิตย์.นวิรมตีติอวิรตํ.นวิปุพฺโพ, รฺมุรมเณ, โต.
นิพนฺธ : อ. เนือง ๆ, เสมอ, เป็นประจำ
สตต : ค. เนือง ๆ
อภิกฺขณ : (วิ.) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, เสมอ ๆ, ร่ำไป.
อภิกฺขณ : (อัพ. นิบาต) เนือง ๆ, ฯลฯ.
อภิณฺหโส : (อัพ. นิบาต) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, เสมออภิฯเป็นปุนัปปุนัตถนิบาตรูปฯเป็นกาลสัตตมีนิบาต.
อสกี : (อัพ. นิบาต) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, ไม่ใช่ครั้งเดียว.
อาจิณฺณอาจิณฺณกมฺม : (นปุ.) อาจิณณกรรมคือกรรมที่ทำเสมอ ๆ เนือง ๆ บ่อย ๆ. วิ.อาจียติ ปุนปฺปุนํกรียตีติอาจิณฺณํ. อาปุพฺโพจิจเย, โต.แปลงตเป็น อิณฺณไทยใช้อาจิณเป็นวิเศษในความว่าเป็นปกติเนือง ๆบ่อย ๆ เสมอ.
กายานุปสฺสนา : (อิต.) การพิจารณาเนือง ๆ ในกาย, การพิจารณาเนือง ๆ ซึ่งกาย, การกำหนดพิจารณากาย.
กุฏฏฺฐ กุฏฏฏฺฐ : (วิ.) เสมอกัน, เนืองนิตย์, นิรันดร. กุฏฺ กุฏฺฏ เฉทเน, โฐ, ฏฺสํโยโค.
กูฏฏฐ : ค. สม่ำเสมอ, เนืองนิจ, แน่นอน, ถาวร, มั่นคง, ไม่หวั่นไหว, ตั้งตรง
สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
อภิณฺหปจฺจเวกฺขณ : (นปุ.) การพิจารณาเนือง ๆ, ฯลฯ.อภิณหปัจจเวกขณะชื่อธรรม หมวดหนึ่งซึ่งทรงสอนให้พิจารณาทุกวัน ๆเพื่อให้รู้ตามความเป็นจริงมี ๕ ข้อ.
อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
นิพทฺธ นิพฺพทฺธ นิวทฺธ : (อัพ. นิบาต) เนื่อง กัน, ฯลฯ.
ปฏิจฺจ : อ., กิต. อาศัย, อิง, เนื่อง, เกี่ยวกับ
ปิฏฺฐิปาท : ป. หลังเท้า, น่อง
พีภจฺฉา : (อิต.) ความติดพัน, ความผูกพัน, ความเกี่ยว เนื่อง, ความเกี่ยวเนื่องกัน. พธฺ ธาตุในความผูก ฉ ปัจ. อาขยาต อ ปัจ. นามกิตก์ เท๎วภาวะ พ แปลง อ เป็น อี แปลง พ หน้าธาตุเป็น ภ แปลง ธฺ เป็น จฺ อา อิต.
วิสฺสนฺทติ : ก. หลั่งไหล, ท่วมนอง
วิสฺสนฺทน : นป. การหลั่งไหล, การท่วมนอง