ปมุญฺจติ : ก. เปลื้อง, แก้, ปลดปล่อย; เปล่ง; สะบัด
สมุทาหรติ : ก. ร้องเรียก, เปล่ง
อุทาเนติ : ก. อุทาน, เปล่ง, เปล่งวาจา
ปยิรุทาหรติ : ก. เปล่ง, ประกาศ
อุจฺจารณ : (วิ.) เปล่ง, เทสนา, ชี้แจง, แถลง, บรรยาย, แสดง, สวด. อุปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
อุทาหรติ : ก. เปล่ง, สวด, ยกมาอ้าง
อุทีเรติ, อุทีรยติ : ก. เปล่ง, กล่าว, พูด, ประกาศ; ให้เกิดขึ้น, ให้มีขึ้น
โอภาส : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, ความสว่าง, ความสวยงาม, ความสุกใส, ความเปล่ง ปลั่ง, รัศมี, แสง, แสงสว่าง. อวปุพฺโพ, ภาสฺ ทิตฺติยํ โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
กลติ : ก. เปล่งเสียงร้อง, ร้องออกมา
กลิต : กิต. เปล่งเสียงร้อง
เกตุมาลา : (อิต.) พระเกตุมาลา ชื่อ รัศมีมีซึ่ง เปล่งอยู่เหนือพระเศียรของพระพุทธเจ้า.
คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
ทุรุตฺต : ค., นป. (คำพูด) ซึ่งเปล่งไว้ไม่ดี, ซึ่งกล่าวไว้ชั่ว; คำพูดชั่ว, คำหยาบ
เทฺววาจิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยวาจาสอง; ผู้เปล่งวาจาสองหนคือ กล่าวถึงพระพุทธเจ้าหนหนึ่งพระธรรมหนหนึ่ง; (ญัตติ) ซึ่งตั้งสองครั้ง
ธนติ : ก. เปล่งเสียง, ออกเสียง
ธมติ : ก. เป่า, พัด, ทำเสียง, เปล่งเสียง, จุดไฟ, ไหม้, เกรียม, ถลุง, หลอม
นิจฺฉรณ : นป. การปล่อยออก, การซ่านออก, การฟุ้งไป, การเปล่ง, การช่วยให้มีอิสระ
นิจฺฉรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, ซ่านออก, เปล่งออก, ฟุ้งไป, ออกจาก
นิจฺฉาเรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, เปล่งออก, พูด
ปฏิปฺผรติ : ก. แผ่ออกไป, ฉายแสง, เปล่งออก, โต้, คัดค้าน
ปโมกฺข : ป. การเปลื้อง, การปลดปล่อย, การเปล่ง, การหลั่งไหล; ความหลุดพ้น
พกฺกุล : ป., นป. ปีศาจ, การเปล่งเสียงร้องอย่างน่ากลัว
พฺยางฺค : (นปุ.) ส่วนของเสียง, หน่วยของเสียงหนึ่งๆ, พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ เช่น ชโน มี ๒ พยางค์ กตฺวา มี ๒ พยางค์ ปุริโส มี ๓ พยางค์ เป็นต้น.
วจีเภท : ป. การเปล่งคำพูดออกมา
สมาทานวิรติ : (อิต.) การงดเว้นด้วยการสมาทาน, การงดเว้นจากการล่วงศีลด้วยการสมาทาน, เจตนางดเว้นด้วยการเปล่งคำสมาทาน, เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นด้วยการสมาทาน, สมาทานวิรัติ(เจตนางดเว้นจากการล่วงศีลซึ่งตนได้สมาทานไว้แล้ว).
สมีเรติ : ก. เปล่งเสียง, พูด
สมุคฺคิรณ : นป. การเปล่งเสียง
สมุคฺคิรติ : ก. เปล่งเสียง
สมุทาหรณ : นป. การร้องเรียก, การเปล่ง
สร : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, เที่ยวไป, ออกเสียง, กำจัด, ขจัด, คิด, คำนึง, นึก, ระลึก, เปล่งออก, ซ่านออก.
สาธุการ : (ปุ.) เสียงเครื่องกระทำว่าสาธุ, การเปล่งวาจาว่าชอบ, การเปล่งวาจาว่าชอบแล้ว, การแสดงความยินดี, การแสดงความยินดีด้วย, การแสดงความเห็นชอบด้วย.
สีหนาท : (ปุ.) อันบันลือเพียงดังว่าอันบันลือแห่งราชสีห์, การบันลือเพียงดังว่าการบันลือแห่งราชสีห์, การเปล่งเสียงองอาจ, การพูดอย่างองอาจ.
อนุคฺคิรนฺต : กิต. ไม่พูด, ไม่เปล่ง, ไม่เงื้อ
อพฺภุทีเรติ : ก. เปล่งเสียงออก, กล่าว
อาภาติ : ก. ส่องแสง, เปล่งรัศมี
อุกฺกฏฺฐ : (ปุ.) เสียงอันบุคคลกล่าว, เสียงอัน บุคคลเปล่งขึ้น, เสียงโห่.
อุจฺจาเรติ : ก. เปล่งเสียง, ชูขึ้น
อุตฺต : ๑. ป. การกล่าว, การเปล่งออกมา;
๒. กิต. กล่าวแล้ว
อุทาน : (นปุ.) การเปล่ง, คำเปล่ง, คำที่เปล่ง ขึ้นทันที. อุปุพฺโพ, อิ อุจฺจารเณ, ยุ, ทฺ อาคโม, แปลง อิ เป็น อา.
อุทานคาถา : (อิต.) คำที่เปล่งขึ้นด้วยความเบิกบานใจ.
อุทาหฏ : กิต. อุทานแล้ว, เปล่งแล้ว, นำมาอ้างแล้ว
อุทาหาร : ป. การเปล่ง, การสวด, การสาธยาย
อุทีรณ : นป. การเปล่ง, การกล่าว
อุปฺปาฬาเสติ : ก. เปล่งเสียง, ออกเสียง
เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
เอเรติ : ก. เขย่า, เคลื่อน, หมุน, ยกขึ้น, เปล่งเสียง
โองฺการ : (ปุ.) คำเปล่ง, โองการ (คำศักดิ์ สิทธิ์). อุจฺ สทฺเท, อาโร. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ นิคคหิตอาคม แปลง จฺ เป็น ก ทาง พราหมณ์ (ฮินดู) หมายเอกพระเจ้าทั้ง ๓ คือ พระพรหม พระวิษณุ และ พระศิวะ.
โอภรติ : ก. นำไป, นำออกไป, หิ้ว, หาม, ปลง
โอหาร : (วิ.) นำลง, ปลง, ปลงลง, ยกลง.
นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.