นิรตฺถ นิรตฺถก : (วิ.) มีประโยชน์ออกแล้ว, หาประโยชน์มิได้, ไม่มีประโยชน์, ปราศ จากประโยชน์, ไร้ประโยชน์, เปล่า. วิ. นตถิ อตฺโถ อสฺสาติ นิรตฺโถ นิรตฺถโก วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รู อาคม ศัพท์หลัง ก สกัด.
โมฆ : (วิ.) เปล่า, ว่าง, ปราศจากประโยชน์, หาประโยชน์มิได้. มุหฺ เวจิตฺเต, อ, อุสฺโส, หสฺส โฆ. มุหฺ มุจฺฉายํ, โฆ, หฺโลโป.
โมฆปุริส : ป. โมฆบุรุษ, บุรุษเปล่า, คนไร้ประโยชน์
อโมฆ : (วิ.) ไม่เปล่า, ไม่เปล่าจากประโยชน์, ไม่ไร้ประโยชน์.
ข : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สูญ.
เผคฺคุ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, หาแก่นมิได้, ไร้สาระ. วิ. ผลติ นิปฺผลํ คจฺฉตีติ เผคฺคุ (ถึงซึ่งความมีผลออกแล้ว ไม่มีผล). ผลฺ นิปฺผตฺติยํ, คุ, อสฺเส, ลสฺส โค.
ลหุ : ๑. ค. เร็ว, พลัน; เบาะ; ซึ่งได้ปรารถนา; เปล่า, ไม่มีสาระ;
๒. อ. ดีละ
สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
อานิสส : (ปุ.) คัณอันไหลออกเป็นนิตย์จากผล, อานิปุพฺโพ, สนฺทฺปสเว, อ.แปลงนฺเป็นนิคคหิตทเป็นส.คุณเป็นที่ไหลออกโดยยิ่ง.อา+นิ+สนฺทฺ+อปัจ.ผลอันไหลออกจากเหตุดี.อานิ=ผลสํส=ไหลออก.ความดี, คุณ, ประโยชน์, อานิสงส์(ผลแห่งการทำนั้น ๆผลแห่งกุศลผลแห่งความดี).อา-นิปุพฺโพ, สํสฺถุติยํ, อ.
อุปการ :
(ปุ.) คุณเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, ฯลฯ (ดู อุปกรณ)ความอุดหนุน, ฯลฯ, ประโยชน์, อุปการะ. วิ. อุปคนฺตฺวา กโรตีติ อุปกาโร. ณ ปัจ. ส. อุปการ.
ปรตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์ของคนอื่น, ประโยชน์ ผู้อื่น.
ตุจฺฉ : (วิ.) เปล่า ( ไม่มีอะไร ว่าง), ว่าง, ว่าง เปล่า, หาแก่นมิได้, เท็จ. ตุจฺ วินาเส, ตุทฺ พฺยถเน วา, โฉ. ธาตุหลัง แปลง ทฺ เป็น จฺ. ส. ตุจฺฉ.
ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
มุธา : (อัพ. นิบาต) ว่าง, เปล่า.
หิตา : (อิต.) ความเกื้อกูล, ประโยชน์เกื้อกูล, ประโยชน์. หิ วุฑฺฒิปวตฺตเนสุ, โต.
อตฺถา : (อิต.) ความต้องการ, ประโยชน์.อตฺถฺอิจฺฉายํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
นคฺค : (วิ.) เปล่า, เปลือย, เปลือยกาย. วิ. น คจุฉตีติ นคฺโค. นปุพฺโพ คมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบ มุ แปลง ค เป็น คฺค หรือตั้ง ลคฺค สงฺเค, อ. แปลง ล เป็น น หรือ ตั้ง นชิ ลชิ ชิเลย, โณ. แปลง ช เป็น ค แล้วแปลงเป็น คฺค ธาตุหลังแปลง ล เป็น น. ส. นคฺน.
อสาร : (วิ.) เปล่า, ว่าง, หาแก่นมิได้, ไม่มีแก่น.วิ.นตฺถิสาโรยสฺมึตํอสารํ.ส.อสาร.
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว
กตตฺถ : ค. ผู้ทำประโยชน์แล้ว
กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
กปฺปรุกฺข : (ปุ.) ต้นไม้อันยังความปรารถนา ให้สำเร็จ, ต้นไม้อันยังประโยชน์ให้สำเร็จ ดังใจนึก (ปรารถนา), ต้นไม้อันตั้งอยู่ตลอดกัป, ทิพยพฤกษ์, ต้นกัลปพฤกษ์ ชื่อ ต้นไม้ชนิดหนึ่ง จำพวกคูน หรือราชพฤกษ์ ดอกสีชมพู.
กมตฺถ : ก. วิ. เพื่อประโยชน์อะไร, ทำไม
กฺริยากปฺปวิกปฺป : ป. ศาสตร์ว่าด้วยกระบวนการแต่ง (อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่กวี) หมายถึงเกฏุภศาสตร์
กามตฺถกาม : ค. ผู้ปรารถนาความดีงาม, ผู้ใคร่เพื่อประโยชน์แก่กาม
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
กิมตฺถ : ก. วิ. เพื่อประโยชน์อะไร, เพื่ออะไร
กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
ขลฺลาฏสีส : (นปุ.) ศรีษะแห่งบุคคลผู้เป็นไป ด้วยความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่ง ศรีษะเปล่า, ศรีษะของคนหัวล้าน.
คมิกภตฺต : (นปุ.) ภัตเพื่อบุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อ ประโยชน์แก่บุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อบุคคล ผู้เดินทาง, ภัตเพื่อประโยชน์แก่บุคคลผู้จร มา.
คยฺหูปค : ค. มีประโยชน์, น่าใช้
จมฺมโยนิ : (ปุ.) จัมมโยนิ ชื่อของสัตว์ที่ใช้หนัง ทำประโยชน์, กวาง, ชะมด.
จมุรุ : ป. สัตว์จำพวกกวางหรือชะมดชนิดหนึ่ง ซึ่งหนังของมันถูกนำมาใช้เป็นประโยชน์
ญาตตฺถจริยา : (อิต.) ความประพฤติเป็นไป เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เป็นประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ ประโยชน์ของญาติ.
ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
ตาปสตรุ : (ปุ.) ต้นสำโรง, เพราะดาบสเอา ผลมาสุมเอาน้ำมันใช้ประโยชน์ จึงชื่อว่า ตาปสตรุ ต้นไม้เป็นประโยชน์แก่ดาบส ต้นจำปา ก็แปล.
ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
ตุจฺฉปตฺตหตฺถ : (วิ.) ผู้มีบาตรเปล่าในมือ วิ. ตุจฺโฉ ปตฺโต ตุจฺฉปตฺโต.ตุจฺฉปตฺโตหตฺเถสุ ยสฺส โส ตุจฺฉปตฺตหตฺโถ.
ตุจฺฉา : (อิต.) ความเปล่า, ฯลฯ, ตุทนํ ตุจฺฉา. ตุทฺ พฺยถเน, โฉ, ทสฺส โจ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘.
ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
ธมฺมปฏิรูป : (ปุ.) ธรรมเทียม ธรรมไม่แท้ ซึ่งแฝงเข้ามาปนกับธรรมแท้ เป็นผลของการกระทำของผู้ไม่หวังดีแก่พระ ศาสนา หรือของคนผู้หวังแต่ประโยชน์ ของตนหรือพรรคพวกของตน.
ธิ : (อิต.) คุณชาติผู้ทรงไว้ซื่งประโยชน์, ปรีชา, ปัญญา. วิ. อตฺถํ ธาเรตีติ ธิ. ธา ธารเณ, อิ.
นิปฺปการ : ค. แปลกๆ , ต่างๆ; หมดรส, ไร้ประโยชน์
นิพฺโภค : ๑. ป., นป. การโค้ง, การก้ม, บิดไปมา;
๒. ค. ไม่มีโภคะ, ไร้ผล, ไม่มีประโยชน์
นิรตฺถ : ค. ไร้ประโยชน์, ไม่ได้เรื่อง
นิรตฺถก : อ., ก.วิ. ไร้ประโยชน์
นิรุปการ : ค. ซึ่งไม่มีอุปการะ, ซึ่งไม่มีประโยชน์