Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เมถุน , then มถน, เมถุน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เมถุน, 21 found, display 1-21
  1. เมถุน : (นปุ.) ความประพฤติของคนคู่ คือ หญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, อัชฌาจารของคนคู่กัน, ความยินดีของคนคู่กัน, การร่วมสังวาส. วิ. มิถุนานํ อิตฺถีปุริสานํ สมานฉนฺทานํ อาจาโร เมถุนํ. ณ ปัจ.
  2. คุยฺหเมถุน : ป. อีกา
  3. มถน : นป. การย่ำยี, การรบกวน
  4. คามธมฺม : (ปุ. นปุ.) เรื่องของชาวบ้าน, กิจของ ชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติ อยู่ในบ้าน, ความประพฤติของชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติอยู่ในบ้าน, เมถุน (การร่วมสังวาส). วิ. คามวาสีนํ ธมฺโม อาจาโร คามธมฺโม.
  5. ทฺวนฺท : (ปุ.) การร่วมสังวาส, เมถุน (เรื่อง ของคนคู่)
  6. มิถุน : (นปุ.) เมถุน ชื่อกลุ่มดาวราศีที่ ๓, คู่แห่งหญิงและชาย (ถีปุมทฺวยํ). วิ. อิตฺถีปุริสานํ ทฺวยํ มิถุนํ. มิถฺ สงฺคเม, อุโน.
  7. นิทฺธุวน : (นปุ.) เมถุน.
  8. ปฏิเสวติ : ก. เสพเฉพาะ, เสพ (เมถุน), ประพฤติ, ปฏิบัติตาม, เสพอาศัย, ส้องเสพ, ใช้ (ปัจจัยสี่)
  9. พฺยวาย : (ปุ.) การร่วมสังวาส, เมถุน. วิ. อยฺยติพล เมเต-นาติ วฺยวาโย พฺยวาโย วา. วฺยยฺขเย, โณ, มชฺเฌ วฺอาคโม. อถวา, วิคโต อโย วุทฺธิ ยสฺมา โส พฺยวาโย.
  10. มิฬฺหสุข : (นปุ.) เมถุน.
  11. โมหน : (นปุ.) เมถุน.
  12. รติ : (อิต.) ความยินดี, ความรื่นรมย์, การร่วมสังวาส, เมถุน. รมุ รมเณ, ติ มุโลโป.
  13. สุรต : (นปุ.) เมถุน.
  14. โอตกนฺติก : (ปุ.) เมถุน (การร่วมสังวาส).
  15. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  16. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  17. เมถุนธมฺม : (ปุ. นปุ) เรื่องความประพฤติของหญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, เรื่องของคนคู่กัน, ประเพณีของชาวบ้าน, เรื่องของชาวบ้าน, ธรรมของอสัตบุรุษ, เมถุนธรรม (เรื่องของคนเป็นคู่ๆ พึงประพฤติ). วิ. เมถุนํ เอว ธมฺโม เมถุนธมฺโม.
  18. ยาภสฺส : (นปุ.) เมถุน, เมถุนธรรม. ยภฺ เมถุเน, สฺสปจฺจโย, ทีโฆ.
  19. อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
  20. อภิวิญฺญาเปติ : ก. ให้รู้, ให้เข้าใจ, ขอ (เมถุนธรรมเป็นต้น)
  21. อสทฺธมฺม : (ปุ. นปุ.) เมถุน, การร่วมสังวาส.
  22. [1-21]

(0.0064 sec)