Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรียงพิมพ์, เรียง, พิมพ์ , then พมพ, พิมพ, พิมพ์, รยง, เรียง, เรียงพิมพ์ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรียงพิมพ์, 23 found, display 1-23
  1. โสธยปณฺณ : (นปุ.) ปรุ๊ฟ คือแผ่นหนังสือที่พิมพ์มาให้เจ้าของต้นฉบับตรวจว่าเรียงถูกต้องตามต้นฉบับหรอไม่.
  2. มุทฺทา : (อิต.) ตรา, ตราประทับ, เครื่องสำหรับตีตรา, เครื่องหมาย, รอย, แหวน, แหวนตรา, พิมพ์ (รูปแบบ), ลัญจกร.
  3. พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
  4. คนฺถ : (วิ.) แต่ง, ร้อยกรอง, เรียบเรียง.
  5. ทมฺภน. : (นปุ.) การร้อยกรอง, การเรียบเรียง, การแต่ง. ทมฺภิ คนฺถเน, ยุ.
  6. ปกิณฺณก : ค. เรียงราย, กระจัดกระจาย, คละกัน
  7. ปทานุกฺกม : (วิ.) การก้าวไปตามซึ่งบท, ลำดับแห่งบท, ปทานุกรม ชื่อตำราแปลศัพท์เรียงตามลำดับแห่งบท ( อักษร ).
  8. ปทานุปุพฺพตา : อิต. ความที่บทเรียงต่อกันไปตามลำดับ, การเรียงลำดับคำ
  9. ปพนฺธ : (วิ.) แต่ง, แต่งขึ้น, ผูกขึ้น, เรียบเรียง, ร้อยกรอง. ปปุพฺโพ, พนฺธ พนฺธเน, อ.
  10. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  11. มุทฺทงฺกณ : นป. การพิมพ์
  12. มุทฺทนยนฺตาลย : (ปุ.) โรงพิมพ์
  13. มุทฺทาปก : ป. คนพิมพ์, คนประทับตรา
  14. มุทฺทาเปติ : ก. ตีพิมพ์, ตีตรา
  15. มุทฺทามสิ : (ปุ. นปุ.) หมึกพิมพ์.
  16. อภิธา : อิต. ชื่อ, คำพูด, คำเรียงไว้ตามลำดับ
  17. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  18. พิมฺพ : (ปุ.) รูป, รูปเปรียบ, แบบ, พรรณะ. วมุ อุคฺครเณ, โพ. แปลง ว เป็น พ แปลง อ เป็น อิ.
  19. พิมฺพิ : (นปุ.) ทอง, ทองคำ.
  20. พิมฺพิ, พิมฺพิกา, พิมฺพี : อิต. มะกล่ำหลวงตำลึง
  21. พิมฺพุ : ป. ต้นพลู
  22. อภิชานาติ : ก. รู้ยิ่ง, ช่ำชอง
  23. อภิสมฺพุชฺฌติ : ก. ตรัสรู้, รู้ยิ่ง, ตื่น
  24. [1-23]

(0.0656 sec)