เสวา : อิต. หญิงรับใช้, การรับใช้
เสวนา เสวา : (อิต.) การเสพ, ฯลฯ, ความเสพ, ฯลฯ. เสวฺ ธาตุ อ. ยุ ปัจ.
เสว : (ปุ.) การเสพ, ฯลฯ, ความเสพ, ฯลฯ. เสวฺ ธาตุ อ. ยุ ปัจ.
เสวติ : ก. คบหา
กสาว : (ปุ.) รสฝาด วิ. กํ ปานิยํ เสวเตติ กสาโว. กปุพฺโพ, สี เสวายํ, อโว. กํ สวาเปติ วา กสาโว. กปุพฺโพ, สุ ปสเว, อ, โณ วา.
กกฺกสวาจา : (อิต.) คำหยาบ, ฯลฯ, วาจา หยาบ, ฯลฯ.
นิเสวติ : ก. ย่อมคบ, ย่อมติดตาม
ปฏิรูปเทสวาส : ป. การอยู่ในประเทศอันสมควร, การอยู่ในถิ่นที่เจริญ
ปฏิเสวติ : ก. เสพเฉพาะ, เสพ (เมถุน), ประพฤติ, ปฏิบัติตาม, เสพอาศัย, ส้องเสพ, ใช้ (ปัจจัยสี่)
สเสว : ป. การคบหา
สเสวติ : ก. คบหา
สิวา : อิต. สุนัขจิ้งจอก
อสฺสวาณิช : ป. พ่อค้าม้า, พ่อค้าที่ใช้ของบรรทุกหลังม้าไปขาย
อสฺสวานิก : ป. กองทัพม้า
อาเสวติ : ก. คบค้าสมาคม, รับใช้
อุปนิเสวติ : ก. เข้าไปซ่องเสพ, สมาคม, คบหา
อุปสเสว : (ปุ.) การเข้าไปคบ, การเข้าไปคบ หา, การเข้าไปเกียวข้อง. อุป สํ ปุพฺโพ, เสวฺ เสวเน, อ.
อุปเสวติ : ก. ซ่องเสพ, คบหา, ประพฤติ, รับใช้
กฏฺฐิสฺ ส : (นปุ.) กัฏฐิสสะ ชื่อเครื่องลาดแกม ไหมด้วย ติดรตนะด้วย. โกสิยสุตฺตกฏฺฐิสฺ สวาเกหิ ปกตํ อตฺถรณํ กฏฺฐิสฺสํ. กฐ ล ปุ.) ก้อนกรวด, กระเบื้อง. กฐิ. โสเก, อโล. ลูกนิ่ว. กฐฺ กิจฺฉชิ่วเน, อโล.
ขีณาสว : (วิ.) ผู้มีอาสวะสิ้นแล้ว วิ. ขีณา อาสวา ยสฺส โส ขีณาสโว.
โคนส : (ปุ.) งูขว้างค้อน, งูเห่า. วิ. ควสฺเสว นาสา อสฺเสติ โคนโส. สญฺญายํ นาสา- สทฺทสฺส นโส กโต.
จุต จูต : (ปุ.) มะม่วง จุ จวเน, โต. จุติ อาเสว- นรกฺขเณสุ, อ. ศัพท์หลังทีฆะ.
ยสวนฺตุ : (วิ.) มียศ วิ. ยโส อสฺส อตฺถีติ ยสวา. วนฺตุ ปัจ.
สิรี : (อิต.) ความเจริญ, ฯลฯ, สมบัติ, ศรี. วิ. กตปุญฺเญหิ เสวตีติ วา สิรี. สิ เสวายํ นิสฺสเย วา, โร, อี จ. อภิฯและฎีกาอภิฯ. ส. ศฺรี.
เสวาล : (ปุ.) สาหร่าย วิ. อุทกํ เสวตีติ เสวาโล. สิ เสวายํ, อาโล. อโล วา, วฺอาคโม, อิสฺเส. ส. เศวาล.
อวณฺณวาท : (ปุ.) การกล่าวซึ่งโทษมิใช่คุณ, การกล่าวโทษ.วิ. วณฺโณถุติ, ตสฺสอวทนํอวณฺณวาโท.อวณฺณสฺสวาวาโทอวณฺณวาโท.
อวนิ : (อิต.) แผ่นดิน วิ. สตฺเตอวตีติอวนิ.อวฺรกฺขเณ, ยุ, นสฺสนิตฺตํ (แปลงนเป็นนิ), นสฺสวาอสฺสอิตฺตํ (หรือแปลงอแห่งนเป็นอิ). หรือลงอนิปัจ.รูปฯลงอิปัจ.นฺอาคม.เป็นอวนีบ้างส.อวนิอวนี.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
เอกปทิก เอกปที : (ปุ.) ทางมีปกติเดินได้คน เดียว, ทางแคบ, ทางน้อย. วิ. คจฺฉตํ เอโก อสหาโย ปาโท ยสฺสํ น นิสินฺนสฺเสว ยมโกติ เอกปที. อี ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ อี ก สกัด.