Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เส้นด้าย, เส้น, ด้าย , then ดาย, ด้าย, สน, เส้น, เส้นด้าย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เส้นด้าย, 338 found, display 1-50
  1. สตฺต : (นปุ.) สาย, สายบรรทัด, ใย, ด้าย, เส้น, เส้นด้าย. สจฺ คติยํ, โต. แปลง จฺ เป็น ตฺ
  2. อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
  3. ตนฺตุ : (ปุ.) ด้าย, เส้นด้าย. อภิฯ วิ. ตญฺญเตติ ตนฺตุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ตโนตีติ ตนฺตุ. ตนุ วิตฺถาเร, ตุ.
  4. จลย : (ปุ.) ด้าย, ทองปลายแขน, กำไลมือ, เส้นทอง.
  5. ทสิกสุตฺต : นป. เส้นด้ายที่เหลือพันชายผ้า, ด้ายขอบผ้า
  6. ปณฺฑุสุตฺต : นป. เส้นด้ายสีเหลือง, ด้ายเหลือง
  7. จีร, - รก : นป. เส้นใย, ใยไม้, เปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้; เส้น, ดิ้น (เงินหรือทอง)
  8. คาวุต : (นปุ.) คาวุต ชื่อมาตราวัดระยะ เท่ากับ ๘๐ อุสภะ หรือ ๑๐๐ เส้น. วิ. ควํ คเวหิ วา ยุตํ คาวุตํ. แปลง ย เป็น ว
  9. นหารุ นหารู : (ปุ.) เอ็น, เส้น. นหฺ พนฺธเน, อรุ. ปาฐ เป็น นหารู.
  10. กปฺปาสิก : (ไตรลิงค์) ผ้าอันบุคคลทอด้วยฝ้าย, ผ้าฝ้าย, ผ้าด้าย. กปฺปาสผลวิการตฺตา กปฺปาสิกํ. ณิก ปัจ.
  11. กมฺพลสุตฺต : นป. ด้ายขนสัตว์
  12. กลาปก : ป. เส้นเชือกหรือแถวแนว
  13. กาสิก : (นปุ.) กาสิกะ ชื่อแว่นแคว้น, ผ้าทอ ด้วยด้ายแกมไหม, กราสิกะ.
  14. เกทารปาลิ : (อิต.) เส้นเขตนา.
  15. จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
  16. ฉฎา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ, รัศมี, เส้นตรง, แถวตรง. ส. ฉฏา.
  17. ตนฺตากุลกชาต : ค. ซึ่งผูกพันกันยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
  18. เทปิจฺฉ : อ. มีขนหางสองเส้น
  19. เทฺวปิจฺฉ : ค. มีขนหางสองเส้น
  20. ธมนิ : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, ไม้อ้อ. ธมฺ สทฺเท, ยุ. อิดิถิยํ อิ. หรือ ธมฺ+อนิ ปัจ. รูปฯ เป็น ธมณิ.
  21. ธมนิ, - นี : อิต. เส้นเลือด, เส้นเอ็น, เส้นประสาท
  22. ธมนิสนฺถตคตฺต : ค. มีตัวอันสะพรั่งด้วยเส้นเอ็น
  23. ธมนี : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, เส้นประสาท. วิ. ธมนฺติเอเตน วีณาทโยติธมนี. ธมฺ สทฺเท. ยุ. อนิ วา, อิตฺถิยํ อี.
  24. นหารุ, (นฺหารุ) : นป., อิต. เอ็น, เส้นเอ็น
  25. ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
  26. พนฺธนสุตฺตก : (วิ.) อันเป็นด้ายถัก.
  27. พฺรหฺมลิขิต : (นปุ.) รอยเขียนของพระพรหม, พรหมลิขิต (เส้นชี้ชะตากรรมของคนซึ่งเป็นไปตามอำนาจของกรรม).
  28. มกจิวาก : นป. เส้นปอ, มัดปอ
  29. มหาตาปสาธน : นป. เครื่องประดับเส้นใหญ่
  30. ยญฺญสุตฺตก : นป. ด้ายสำหรับบูชายัญ
  31. รสคฺคสา : อิต. เส้นประสาท
  32. โลหสลากา : อิต. เส้นลวด
  33. วิกฺขมฺภ : ป. ๑. เส้นผ่าศูนย์กลางวงกลม; ๒. การข่ม, การถอนออก
  34. สุปฺป : (นปุ.) กระด้ง ชื่อภาชนะสานด้วยตอกไม้ไผ่ที่เอาผิวไว้ ตอกเส้นใหญ่และหนาหน่อย เป็นภาชนะแบนกลมใหญ่ มีขอบหนากลมใหญ่มือจับได้สบาย สำหรับฝัดข้าวโบกลม วิ. สุปนฺติ เอตฺถิ สุนขาทโยติ สุปฺปํ. สุปฺ สยเน, โป. สุปฺปฺ หนเน วา, อา. สรติ อเนนาติ วา สุปฺปํ. สร. คติยํ, โป, ทฺวิตฺตํ, รฺโลโป, อสฺสุ. สุปฺ มาเนวา, โป. ส. สูรฺป, สูรฺปฺป.
  35. หาร : (ปุ.) แก้วมุกดาที่ร้อยด้วยด้าย, สร้อยไข่มุก, สร้อยคอ, สายสร้อย. วิ. หรียเต มโน เยน โส หาโร. หรฺ หรเณ, โณ.
  36. อฑฺฒกุสิ : (นปุ.) อัฑฒกุสิชื่อเส้นคั่นดุจคันนาขวางของกระทงจีวรซึ่งอยู่ระหว่างมณฑล กับ อัฑฒมณฑล.
  37. อาลิขติ : ก. ขีดเส้น, วาดรูป
  38. ลาส, - สน : นป. การละเล่น, กีฬา, การฟ้อนรำ
  39. ทูสน : นป. ดู ทุสฺสน
  40. ธมฺมาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นั่งแสดงซึ่งธรรม, ที่สำหรับนั่งแสดงธรรม, อาสนะเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, ธรรมาสน์ (ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม). วิ. ธมฺมํ เทเสนฺโต อาสิ เอตฺถาติ ธมฺมาสนํ. ส. ธรฺมาสน.
  41. นิชิคึสนตา : อิต. ดู นิชิคึสน
  42. นิวสน : (นปุ.) การนุ่ง, การห่ม, การนุ่งห่ม. นิปุพฺโพ, วสฺ อจฺฉาทเน, ยุ. ส. นิวสน.
  43. ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
  44. สทสฺสน : (นปุ.) การเห็นได้โดยง่าย, ความเห็นได้โดยง่าย. สุข+ทสฺสน, การเห็นได้ด้วยดี, ความเห็นได้ด้วยดี. สุฏฺฐุ+ทสฺสน.
  45. สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
  46. สมสน : (นปุ.) การย่อ, สํปุพฺโพ, อสุเขปเน. ยุ. ส. สมสน.
  47. สุน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ. ส. ศุน.
  48. สูณ สูน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, อ, ทีโฆ. สุ สวเน วา, ยุ. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ อภิฯ.
  49. หึสน : (นปุ.) การเบียดเบียน, ฯลฯ. ยุ อ ปัจ. ส. หึสน, หึสา.
  50. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-338

(0.0658 sec)