Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เหม็นเบื่อ, เหม็น, เบื่อ , then บอ, เบื่อ, หมน, หมนบอ, เหม็น, เหม็นเบื่อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เหม็นเบื่อ, 60 found, display 1-50
  1. ปูติ ปูติก : (วิ.) บูด, เน่า, เปื่อย, เปื่อยเน่า, เหม็น, ยุ. ปูยิ ทุคฺคนฺเธ, ติ. ลบที่สุดธาตุศัพท์หลัง ก สกัด.
  2. อคนฺธก : (วิ.) ไม่มีกลิ่นหอม, เหม็น.
  3. นิพฺพินฺท : (วิ.) เบื่อ, หน่าย, เบื่อหน่าย, จืด จาง. นิปุพฺโพ, วิทฺ ตุฏฐยํ, อ. นิคฺคหิตาคโม.
  4. กามนิกฺกาม : ค. ผู้ไม่มีความใคร่ในกาม, ผู้เบื่อกาม
  5. กิสฺสติ : ก. ผอม, อ่อนเพลีย, ล้า, เบื่อหน่าย
  6. คูถภาณี : ค. ผู้พูดเลว, พูดไม่เพราะ, พูดหยาบ; คนปากเหม็น, คนปากเสีย
  7. ชิญฺชุก : (ปุ.) มะกล่ำ, มะกล่ำเครือ มะกล่ำ ตาหนู ก็เรียก, กระพังโหม ชื่อไม้เถามี กลิ่นเหม็น ใบเรียวเล็ก ใช้ทำยา. ชญฺชฺ ยุทฺเธ, อุโล, อสฺสิ.
  8. ติตฺติ : (อิต.) ความขม, ความเบื่อเมา. ติ ปัจ.
  9. ติตฺติก : (วิ.) มีรสขม, มีรสเบื่อเมา.
  10. ทุคฺคนธ : (ปุ.) ของเหม็น.
  11. ทุคฺคนฺธ : (วิ.) มีกลิ่นชั่ว, มีกลิ่นเหม็น. วิ. ทุฏฺโฐ กุจฺฉิโต วา คนฺโธ อสฺสาติ ทุคฺคนฺโธ.
  12. นิพฺพิชฺช : ค. เบื่อหน่ายแล้ว
  13. นิพฺพิชฺชติ : ก. เบื่อหน่าย, เหนื่อยหน่าย, ท้อใจ
  14. นิพฺพิณฺณ : (ปุ.) ความเบื่อ, ความหน่าย, ความเบื่อหน่าย, ความเบื่อหน่ายในวัฏฏะ, ความจืดจาง. นิปุพฺโพ, วิทฺ ติฏฐยํ, โต.
  15. นิพฺพิท : (นปุ.) ความเบื่อ, ฯลฯ. อ. ปัจ.
  16. นิพฺพิทา : (อิต.) ความเบื่อ, ฯลฯ. อ. ปัจ.
  17. นิพฺพิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้ในความเบื่อ หน่าย, นิพพิทาญาณ คือความรู้ทำให้ เกิดความเบื่อหน่ายในกองทุกข์.
  18. นิพฺพินฺทติ : ก. เบื่อหน่าย, เหนื่อยหน่าย, ท้อใจ
  19. ปนฺนคนฺธ : ค. มีกลิ่นจางหายไป, หมดกลิ่น, กลิ่นเสีย, กลิ่นเหม็น
  20. ปูติคนฺธี : (ไตรลิงค์) ของเหม็น. ไตร. และฎีกาอภิฯ วิเสสนะ แปลว่า เป็นของเหม็น, ฯลฯ.
  21. อฏฺฏิยนา : (อิต.) ความระอา, ความเบื่อ, ความลำบาก.อฏฺฏฺอนาทาเร.ณฺยปัจ.ประจำธาตุยุปัจ.อิอาคมอาอิต.
  22. อปฺปฏิคนฺธิก, - คนฺธิย : ค. ไม่มีกลิ่นเหม็น, มีกลิ่นหอม
  23. อภินิพฺพิทา : อิต. ความเบื่อหน่ายโลก
  24. อรติ : (อิต.) ความไม่ยินดี, ความไม่พอใจ, ความเบื่อ, ความริษยา, อรดี, อราดี.ส. อรติ.
  25. เอฬคล : (ปุ.) ชุมเห็ด มีสองชนิด ชุมเห็ดไทย ใบเล็ก ชุมเห็ดเทศใบใหญ่ มีรสเบื่อเมา เป็นสมุนไพร. วิ. เอฬคํ ททฺทุ ลุนาตีติ เอฬคโล. เอฬคปุพฺโพ, ลา เฉทเน, อ.
  26. กาสุ : อิต. หลุม, บ่อ
  27. กุป : (ปุ.) บ่อ, บ่อน้ำ, ขุม (หลุม), หลุม. กปฺ อจฺฉาทเน, อ, อสฺส.
  28. กุโสพฺภ : (ปุ.) บ่อ, หนอง. กุส(น้ำ)+อุพฺภ(เต็ม).
  29. กุหร : (นปุ.) รู, ช่อง, โพรง, คูหา, บ่อ, แอ่ง. กุห. วิมฺหยเน, อโร. ส. กุหร.
  30. กูป : (ปุ.) หม้อ, ช่อง, ขุม, หลุม, บ่อ, บ่อน้ำ เสากระโดง. วิ. กวนฺติ นทนฺติ มณฺฑูกา เอตฺถาติ กูโป. กุ สทฺเท, โป, ทีโฆ. กุ อปฺปโก อาโป อสฺมินฺติ วา กูโป กุ+อาป. ส. กูป.
  31. กูป, - ปก : ป. หลุม, บ่อ, โพรง; เสากระโดงเรือ
  32. โกลิวลิ : (ปุ.) บอระเพ็ด, ช้าพลู.
  33. ขตุ : (ปุ.) หลุม, บ่อ, สระ, บ่อน้ำ. ขนุ+ตุ ปัจ. ลบ นุ.
  34. ขาต : (นปุ.) ตระพัง (แอ่ง บ่อ หนอง) ตะพัง หรือสระพัง หรือกระพัง ก็เรียก, บ่อ, บ่อน้ำ, หนอง, หนองน้ำ, สระ, บึง. ขณุ ขนุ วา อวทารเณ, โต. แปลงที่สุดธาตุ เป็น อา.
  35. คโฬจี : (อิต.) เถาเน่า, เถาหัวด้าน, เขาหัวด้วน, บอระเพ็ด, กระโพงโหม. คฬฺ รกฺขเณ, ครฺ เสจเน วา, โอโจ, อิตฺถิยํ. อี. ถ้าตั้ง ครฺ แปลง รฺ เป็น ฬฺ.
  36. ฆฏน : (วิ.) หมั่น, ขยัน, รวมกัน, ติดต่อกัน, สืบต่อ, เบียดเบียน.
  37. ชลาธาร : (ปุ.) บ่อ, สร, ทะเลสาบ. ส. ชลาธาร.
  38. ชลาสย : (ปุ.) บ่อ, สระ, ห้วงน้ำ, ทะเล, ทะเล สาบ. วิ. ชลานํ อาสโย. แปลว่า หม้อน้ำ บ้าง. ส. ชลาศย.
  39. ชาคร : (วิ.) ตื่น (จากหลับ), ขยัน, หมั่น, เพียร. ส. ชาคร.
  40. นหุต : (นปุ.) หมื่น (๑๐ พัน). นหฺ พนฺธเน, โต, อ อาคม เป็น นห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ.
  41. ปตฺตวก : (ปุ.) ขี้เหล็ก, บอระเพ็ด.
  42. ปปฏ, (ปปต) : ป. บ่อ, หลุม, เหว, มหานรก
  43. ปูติก : (ปุ.) กระพังโหม, อเนกคุณ, บอระเพ็ด? ปุ ปวเน, อิโก, โตนฺโต จ (ลง ต ที่สุดธาตุ).
  44. ปูติลตา : (อิต.) เถาเน่า, เครือเถาเน่า, เถาหัวด้วน, ต้นตำแย, บอระเพ็ด, กระพังโหม. วิ. ติตฺตรสตฺตา ปูติภูตา ลตา ปูติลตา. ปุ ปวเน, ติ.
  45. ผคฺคว : (ปุ.) ขี้เหล็ก, บอระเพ็ด. วิ. ยํ วาตํ คณฺหาตีติ ผคฺคโว. ผปุพฺโพ, คหฺ คหเน, อ, หสสฺ โว.
  46. สุมฺภ : (ปุ.) บ่อ, หลุม. สุมฺภฺ หึสายํ, อ.
  47. โสณฺฑิกาโสณฺฑี : (อิต.) ตะพังหิน. โสฑฺ คพฺเภ, อี. ตระพัง คือ แอ่ง, บ่อ, หนอง. ศัพท์ต้น รัสสะ ก สกัด อา อิต.
  48. อตฺถุ : (อัพ. นิบาต) จงยกไว้, ก็ตามแต่ ก็ตามที(ตอบอย่างไมม่พอใจ), โดยแท้.
  49. อเปกฺข : (วิ.) หมั่น, ขยัน, กระตือรือร้น.
  50. อมฺพุชากร : (ปุ.) บ่อ, บึง, สระ, ทะเลสาป.วิ.อมฺพุชานํอากโรอุปฺปตฺติฏฺฐานํอมฺพุชากโร.
  51. [1-50] | 51-60

(0.0606 sec)