Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แน่ , then แน่, แน่ะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แน่, 37 found, display 1-37
  1. เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
  2. ธุว : (อัพ. นิบาต) เที่ยง, มั่นคง, ยั่งยืน, แน่- นอน.
  3. นูน : อ. แน่
  4. จิตฺตสมาธิ : ป. ความตั้งมั่นแห่งจิต, ความแน่แน่แห่งจิต
  5. จิตฺตสโมธาน : นป. ความรวมลงพร้อมแห่งจิต, ความพร้อมเพรียงแห่งจิต, ความแน่แน่แห่งจิต
  6. เจโตปณิธิ : ป. ความตั้งใจแน่แน่, ความปักใจ, การตั้งจิตปรารถนา
  7. ฉนฺทสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมด้วยความพอใจ, ความตั้งใจแน่แน่
  8. ธุว : (วิ.) เที่ยง, คงที่, มั่นคง ประจำ, ยืนที่, ยั่งยืน, แน่แน่, แน่นอน, เนือง, เนืองๆ, บ่อย, ทุกเมื่อ, เป็นนิตย์. ธุ คติเถริเยสุ, อ, ธุวาเทโส. ส. ธฺรุว.
  9. นิจฺฉิต : ค. อันชี้ขาด, ซึ่งตัดสิน, ซึ่งตั้งใจแน่แน่
  10. นิฏฐ : (วิ.) เชื่อแน่, มั่นใจ, สำเร็จ. นิ+ฐา+อปัจ. ซ้อน ฏ.
  11. ปณิธาน : นป. การตั้งความปรารถนา, การตั้งใจแน่แน่, การตัดสินใจเด็ดเดี่ยว
  12. ภเณ : (อัพ. นิบาต) พนาย, แน่พนาย, เป็นคำสำหรับผู้มีศักดิ์สูงกว่า พูดกับผู้มีศักดิ์ต่ำกว่า.
  13. มุจฺฉา : (อิต.) ความวิงเวียน, ความสยบ (ฟุบลง) , ความสลบ (แน่นิ่ง หมดความรู้สึก), การวิงเวียน, การเป็นลม. มุจฺฉฺ โมหสมุสฺสเยสุ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  14. ววตฺถาปน : นป. การกำหนด, การตั้งใจแน่แน่
  15. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่แน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่แน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  16. อธิฏฺฐาน : นป. ความตั้งใจแน่แน่, การอธิษฐาน, การติดแน่น, ที่อยู่อาศัย
  17. อนุปนิรส : ค. ไม่มีเหตุใกล้ชิด, ไม่มีความแน่แน่
  18. อปฺปณา : อิต. การทำใจให้แน่แน่, การเพ่ง
  19. อปฺเปติ : ก. ๑. แนบแน่น, แน่แน่, ติดแน่น ; ๒. มัดเข้ากัน ; ๓. ไหลลงไปสู่
  20. อวธาเรติ : ก. กำหนดแน่, จำกัดลง, เลือก
  21. อวิสาหฏมานสตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคลเป็นผู้มีจิตไม่ส่ายแล้ว, ความที่แห่งจิตเป็นจิตไม่ส่ายแล้ว, ความแน่แน่.
  22. อวิสาหาร : (ปุ.) ความไม่ส่าย, ความแน่แน่.
  23. อุปจารสมาธิ : (ปุ.) สมาธิเฉียด, อุปจารสมาธิ คือสมาธิยังไม่แน่แน่ ยังไม่ดิ่งเป็นอัปปนา เป็นแต่จวน ๆ.
  24. เอกคฺค : (วิ.) มีอารมณ์เดียว (อคฺค คือ อารมณ์), มีอารมณ์เดียวเลิศ, มีอารมณ์ เลิศเป็นหนึ่ง, มีอารมณ์เป็นหนึ่ง, มี อารมณ์แน่แน่, ไม่วุ่นวาย.
  25. เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่แน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.
  26. เอโกทิ : ค. แน่แน่, ตั้งมั่น
  27. เอโกทิภาว : ป. ความแน่แน่, ความเป็นสมาธิ
  28. โอกปฺปนา : อิต. การทำให้แน่แน่, ความไว้วางใจ, ความเชื่อมั่น
  29. โอกปฺเปติ : ก. ทำใจให้แน่แน่, ไว้วางใจ, เชื่อมั่น
  30. อาวุโส : (อัพ. นิบาต) แน่ะท่านผู้มีอายุ, แน่ะ ผู้มีอายุ, ดูกรท่านผู้มีอายุ, ดูก่อนท่านผู้มี อายุ, ท่านผู้มีอายุ, คุณ. เป็นคำสำหรับ นักบวชเรียกนักบวช ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า หรือสำหรับนักบวชพูดกับชาวบ้านก็ได้ แปลว่า จ๊ะ เจริญพร ขอเจริญพร. แปลว่า ขอรับ. ก็ได้. พูดกับผู้ชายแปลว่า พ่อ พูดกับผู้หญิง แปลว่า แม่. ส. อายุษมตฺ.
  31. ภทฺเท : อ. แน่ะ, ดูกร, ข้าแต่นางผู้เจริญ
  32. โภติ : อ. แน่ะนางผู้เจริญ, แม่จำเริญ
  33. หเร : (อัพ. นิบาต) เฮ้ย, แน่ะคนร้าย.
  34. อมฺโภ : (อัพ. นิบาต) พ่อเฮ้ย, ผู้เจริญ, แน่ะผู้เจริญ.ใช้ได้ทั้งเอก.และพหุ.ใช้เรียกเฉพาะผู้ชาย.เอกวจนปุถุวจนวเสนปุริสานํอามนฺตเน.
  35. อมฺม, อมฺมา : ๑. อ. แน่ะแม่, ข้าแต่แม่ ; เป็นคำร้องเรียกหญิงที่สนิทกัน เช่น แม่มหาจำเริญ ; ๒. อิต. แม่
  36. อเร : (อัพ. นิบาต) เว้ย, โว้ย, แน่ะคนอะไร, แน่ะคนร้าย, แน่ะหญิงร้าย, พ่อเฮ้ย.
  37. อเห : อ. เอะ! นี่แน่ะ! อย่างไรกันนี่!
  38. [1-37]

(0.0135 sec)