Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แหวกว่าย, แหวก, ว่าย , then พ่าย, วาย, ว่าย, หวก, หวกวาย, แหวก, แหวกว่าย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แหวกว่าย, 51 found, display 1-50
  1. วาย : ป., นป. ลม
  2. โคจร : (วิ.) เป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์ วิ. คาโว อินฺทฺริยานิ จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค. วิ. คาโว จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เที่ยวไป, ว่าย อุ. วาริโคจโร (ปลา) ว่ายในน้ำ. โคปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, อ.
  3. กปฺปิก : ค. ผู้เป็นไปในกัลป์, ผู้เวียนว่ายอยู่ในวัฏฏะ
  4. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  5. ชาติสสาร : ป. การเวียนว่ายตายเกิด
  6. นิพฺเพธ : (ปุ.) การเจาะ, การเจาะออก, การชำแรก, การแหวก, ความเจาะออก, ฯลฯ, ความบรรลุ, ความตรัสรู้. นิปุพฺโพ, วิธฺ วิชฺฌเน, อ.
  7. ปนุทหติ : ก. แหวก, ฝ่าไป
  8. ปิลวติ, (ปฺลวติ) : ก. ว่ายน้ำ, ลอยน้ำ, เคลื่อนไหวไปมาอย่างรวดเร็ว, ลอยไป
  9. ปิลว, (ปฺลว) : ป. การว่ายน้ำ, การลอยน้ำ; นกนางนวล, นกกระทุง, นกกะลิง, นกเป็ดน้ำ
  10. ปิลวิต : ค. ว่ายน้ำ, ถูกลอยน้ำ
  11. มจฺฉา : (ปุ.) ปลา วิ. มสติ ชลนฺติ มจฺโฉ (สัตว์ผู้ลูบคลำ คือว่ายในน้ำ). มสฺ อามสเน, โฉ. แปลง สฺ เป็น จฺ หรือตั้ง มรฺ ปาณ-จาเค, โฉ แปลง ฉ เป็น จฺฉ ลบ รฺ.
  12. สสาร : ป. การท่องเที่ยว, การเวียนว่ายตายเกิด
  13. อุปปลวติ : ก. ว่ายน้ำไป, ลอยไป
  14. วายติ : ก. ฟุ้งไป
  15. วายทณฺฑก : นป. การสวยทอหูก, ฟืม
  16. วายน : นป. การฟุ้งไป, การขจรไป
  17. วายมติ : ก. ย่อมพยายาม
  18. วายส : ป. นก ป. (กา)
  19. วายสาริ : ป. นกเค้าแมว
  20. จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
  21. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  22. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  23. โกฏฺฐาสยวาย : (ปุ.) ลมที่อยู่ในไส้, ลมในลำไส้. แปลว่า ลมในไส้ใหญ่ก็ได้.
  24. ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
  25. ตุณฺณวาย : ป. ช่างชุน, ช่างเย็บ
  26. พฺยวาย : (ปุ.) การร่วมสังวาส, เมถุน. วิ. อยฺยติพล เมเต-นาติ วฺยวาโย พฺยวาโย วา. วฺยยฺขเย, โณ, มชฺเฌ วฺอาคโม. อถวา, วิคโต อโย วุทฺธิ ยสฺมา โส พฺยวาโย.
  27. วฺยวาย : ป. การร่วมสังวาส
  28. วายุ : นป. ลม
  29. องฺคมงฺคานุสาริวาย : (ปุ.) ลมอันพัดไปสู่อวัยวะน้อยและอวัยวะใหญ่, ลมพัดทั่วไปในร่างกาย, ลมที่อยู่ทั่วไปในร่างกาย.
  30. อติวายติ : ก. กระจายไป, ฟุ้งไป
  31. อโธคมวาตอโธคมวาย : (ปุ.) ลมพัดลงเบื้องต่ำลมพัดลงในเบื้องต่ำ.
  32. อโธคมวาต อโธคมวาย : (ปุ.) ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมพัดลงในเบื้องต่ำ.
  33. อนฺวาย : กิต. อาศัย, ประสบ, เสวยแล้ว
  34. อภิวายติ : ก. พัดไป, ซ่านไป, แผ่ไป
  35. อุปวายติ : ก. พัดไป
  36. กลิ : (ปุ.) ความพ่ายแพ้, โทษ, ความชั่ว, บาป. วิ. กลียตีติ กลิ. กลฺ สํขฺยาเณ, อิ.
  37. กลิคฺคห : ป. ผลชั่ว, ความพ่ายแพ้
  38. คีเวยฺย คีเวยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, ผ้า พันคอ. วิ. คีวายํ ภวํ คีเวยฺยํ. คีวาย อาภรณํ วา คีเวยฺยํ คีเวยฺยกํ วา. เอยฺย ปัจ ศัพท์หลัง ลง ก สกัด. โมคฯ ลง เณยฺย เณยฺยก ปัจ.
  39. ตุนฺนการ : นป. ดู ตุณฺณวาย
  40. ตุนฺนวาย : ป. ดู ตุณฺณวาย
  41. นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  42. ปภคฺค : กิต. (อันเขา) หัก, ทุบ, ทำลาย, ทำให้พ่ายแพ้แล้ว
  43. ปราชย : (ปุ.) ความไม่ชนะแก่ข้าศึก, ความแพ้แก่ข้าศึก. ปร+ อชย. ความแพ้, ความพ่ายแพ้. ปราปุพฺโพ, ชิ ชเย, โณ. รเณยุทฺเธ โย ภงฺโค โส ปราชโย นาม. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ
  44. ปราเชติ : ก. ให้ปราชัย, ให้พ่ายแพ้, ปราบ
  45. หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
  46. อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปด อัษฎาวุธ อาวุธ แปด คือ พระแสงหอกเพชรรัตน์ พระ แสงดาบเชลย พระแสงตรี พระแสงดาบ และเขน หรือ พระแสงดาบและโล่ พระ แสงธนู พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะ โตง.
  47. อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปดอัษฎาวุธอาวุธแปดคือพระแสงหอกเพชรรัตน์พระแสงดาบเชลยพระแสงตรีพระแสงดาบและเขนหรือพระแสงดาบและโล่ พระแสงธนูพระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะโตง.
  48. อปชิต : นป. ความพ่ายแพ้, ความปราชัย
  49. อปราชย : (วิ.) ไม่มีความพ่ายแพ้, ไม่พ่ายแพ้, ชนะ.ส. อปราชย.
  50. อยุทฺธ : (วิ.) ปราบไม่ได้(ใครๆไม่สามารถให้พ่ายแพ้ได้ไม่สามารถปราบได้).ไม่พ่ายแพ้ส.อยุทฺธ.
  51. [1-50]

(0.0517 sec)