Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โข .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โข, 62 found, display 1-50
  1. โข : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, แล, แท้, แท้จริง, นัก
  2. กึ นุ โข : (อัพ. นิบาต) เพราะเหตุอะไรหนอ แล, อะไรหนอแล, อย่างไรหนอแล. กึ แปลเป็นเหตุก็ได้ ฉัฏฐี  ก็ได้ ทุติยาก็ได้.
  3. โขโขโขโข : (วิ.) กระจอก, เขยก.
  4. โขเภติ : ก. สะดุ้ง, กระเพื่อม, หวั่นไหว, ไม่สงบ
  5. กิญฺชกฺข : (ปุ.) เกษร (ส่วนในของดอกไม้) วิ. กิสฺมึ (ในดอกไม้) ชายติ ชลตีติ วา กิญฺชกฺโข. กิปุพฺโพ ชนฺ ชนเน, ชลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, นสฺส ลสฺส วา กการตฺตํ, นิคฺคหิ ตาคโม.
  6. ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
  7. มยูข : (ปุ.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง. วิ. มยตีติ มยูโข. มยฺ คติยํ, โข, อูอาคโม. รัสสะเป็น มยุข บ้าง.
  8. ยกฺข : (ปุ.) ยักขะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง, เทวะ, สัตว์โลก, ท้าวสักกะ,รากษส, ยักษ์ คืออมนุษย์พวกหนึ่ง รูปร่างใหญ่โต เขี้ยวโง้ง ชอบกินมนุษย์และสัตว์ เป็นบริวารของท้าวกุเวรมหาราช ท้าวกุเวรฯ กับท้าวเวสสุวัณ เป็นเทพองค์เดียวกัน. และยักขะนี้ยังเป็นคำเรียกพระขีณาสพ อีกด้วย. ยกฺขฺ ปูชายํ, อ. ยตฺปยตเน วา, โข, ตสฺส โก.
  9. สพฺพจ : (วิ.) อัน...พึงรู้ตามได้โดยง่าย, ผู้อัน...พึงว่าได้โดยง่าย, ผู้อัน...พึงสอนได้โดยง่าย. วิ. สุเขน วจิตพพฺโพติ สุพฺพโจ. สุข ปุพฺโพ, วจฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, โข, วสฺสโพ, พสํโยโค.
  10. สุสฺสย : (ปุ.) การนอนได้โดยง่าย. สุขปุพฺโพ. สี สเย, โข, สฺสํโยโค.
  11. อกฺข อกฺขก : (ปุ.) ไหปลาร้า คือกระดูกทั้งคู่ที่อยู่ต้นคอข้างหน้าทั้งสองข้าง, รากขวัญ, กระดูกคร่อมต้นคอ. อกฺ คมเน, โข, สกตฺเถ โก.
  12. อกฺโขหินี : อิต. ดู อกฺโขภินี
  13. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  14. อีสกฺกร : (วิ.) อันเขาทำหน่อยหนึ่ง วิ. อีสํ กรียเตติ อีสกฺกรํ. อีสํปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โข, นิคฺคหิตโลโป.
  15. ทุกฺโขติณฺณ : ค. ผู้ถูกทุกข์ท่วมทับ, ผู้ถูกทุกข์ครอบงำ, ผู้ตกทุกข์
  16. มุโขทก : (นปุ.) น้ำสำหรับบ้วนปาก, น้ำบ้วนปาก, น้ำสำหรับล้างหน้า, น้ำล้างหน้า.
  17. มุโขโลกน : นป. การมองดูหน้า, การเห็นแก่หน้า
  18. วิกฺโขเภติ : ก. สั่น, ทำให้สะเทือน, รบกวน
  19. สงฺโขเภติ : ก. ตื่นเต้น, กำเริบ
  20. อกฺโขภินี : อิต. สังขยาจำนวนหนึ่งมีศูนย์ ๔๒ ตัว, กองทัพที่มีทหาร ๑๐๙,๓๕๐ คน ม้า ๖๕,๖๑๐ ตัว ช้าง ๒๑,๘๗๐ เชือก และพลรถ ๒๑,๘๗๐ คัน
  21. อถโข : (อัพ. นิบาต) ครั้งนั้น, ครั้งนั้นแล, แต่, ถึงอย่างนั้น, ที่แท้, โดยแท้จริง, โดยแท้แล.
  22. อปิจโข : อ. อื่นอีก, แม้อีก, เหมือนกัน
  23. ติติกฺขา : (อิต.) ความอดทน, ความอดกลั้น, ความทนทาน, ความอดใจ, ความบึกบึน. ติชฺ ขนฺติยํ, โข. เทว๎ภาวะ ติ แปลง ชฺ เป็น กฺ อาอิต. เป็น ตีติกฺขา บ้าง.
  24. ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
  25. สุณข : (ปุ.) สุนัข, หมา. วิ. สุนฺทรํ นข เมตสฺสาติ สุณโข. อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, โข. แปลง น เป็น ณ. หรือตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณข อภิฯ.
  26. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  27. สุธา : (อิต.) สุธาโภชน์ (โภชนะเทวดา). วิ. สุเขน ธยนฺติ ตํ อิติ สุธา. เธ ปาเน, โข. ส. สุธา.
  28. สุภร : (วิ.) อัน...เลี้ยงได้โดยง่าย, เลี้ยงง่าย. วิ. สุเขน ภรียตีติ สุกโร. สุขปุพฺโพ, ภรฺ โปสเน, โข.
  29. อกฺข : (ปุ.) คะแนน, เกวียน, กลุ่ม, ดุม, เพลา, เพลารถ. วิ.อรนฺติ เอเตนาติ อกฺโข. อรฺ อกฺ วา คมเน, โข. ถ้าตั้ง อรฺ แปลง รฺ เป็นกฺ. ส. อกฺษ.
  30. อีสสฺสย : (ปุ.) การนอนนิดหน่อย, การนอน น้อย. วิ. อีสํ สียเตติ อีสสฺสโย. อีสํ วา สยนํ อีสสฺสโย. อีสปุพฺโพ, สี สเย, โข.
  31. กตมุข : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ. วิ. กตํ มุขํ อุปาโย อเนนาติ กตมุโข.
  32. กากปกฺข : (ปุ.) ผมที่ขมวดไว้เป็นหย่อม ๆ (ผมเด็กขมวดแยกออกเป็น ๓ หย่อม หรือ ๕ หย่อม), ผมแหยม (ปอยผมที่เอาไว้เป็น กระจุกบนหัวนอกจากจุก), ไรผม, ปีกของ กา, ปีกกา. กากานํ ปกฺขสณฺฐ านตฺตา กากปกฺโข.
  33. ขีรมุข : (วิ.) มีปากเป็นไปด้วยกลิ่นแห่ง น้ำนม, มีปากยังไม่หมดกลิ่นน้ำนม, มีปากยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม. วิ. ขีรคนฺธิกํ มุขํ ยสฺส โส ขีรมุโข.
  34. ขุทฺทสงฺข : (ปุ.) หอยเล็ก, หอยเล็กๆ. วิ. ขิทฺโท เอว สํโข ขุทฺทสํโข ขุทฺทสงฺโข วา.
  35. โข : (นปุ.) ผ้าทอด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าขาว?, ผ้าป่าน, ผ้าใยไหม (ผ้า ลินิน), ผ้าโขมะ, โขมพัตถ์ (ผ้าทำด้วย เยื่อไม้). วิ. ตนุรุหํ ขายติ (ขุยฺยติ) อุตฺตมภาเวนาติ โขมํ. ขุ สทฺเท, โม. ขุมาย วา วิกาโร โขมํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  36. ควกฺข : (ปุ.) หน้าต่าง, ช่องลม. วิ. ควํ อกฺขิ ควกฺโข. เอา อิ ที่สุดสมาสเป็น อ (สมา- สนฺตตฺตา อ).
  37. โครกฺข : (ปุ.) ชาวนา, ชาวไร่. วิ. คํ ปฐวึ รกฺขตีติ โครกฺโข. คปุพฺโพ, รกฺขฺ ปาลเน, อ, อสฺโส (แปลง อ ที่ ค เป็น โอ).
  38. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  39. ตุรุกฺข : (ปุ.) มดยอบ, กำยาน, วิ. ตุรโต ชาโต ตุรุกฺโข. ตรุ ศัพท์ ข ปัจ. แปลง อ ที่ ต เป็น อุ ซ้อน ก.
  40. ทุกฺขิต : (วิ.) ผู้ลำบาก วิ. ทุกฺขตีติ ทุกฺโข. ทุกฺขฺ ทุกฺเข, อิโต. ผู้มีความลำบากเกิดพร้อมแล้ว, ผู้มีความลำบากทุกประการ. วิ. ทุกขํ สํชาตํ เอตสฺสาติ ทุกฺขิโต. ผู้มีความลำบาก วิ. ทุกฺขํ อสฺส อตฺถีติ ทุกฺขิโต. ผู้เป็นไปแล้วโดย ความลำบาก, ผู้เป็นไปด้วยความยาก. วิ. ทุกเขน อิโตติ ทุกฺขิโต. ทุกฺข+อิตศัพท์.
  41. ทุมุข ทุมฺมุข : (วิ.) มีปากอันโทษประทุษร้าย แล้ว, มีปากชั่ว, มีปากร้าย (ปากมาก). วิ. ทุ นินฺทิตํ วิรูปํ วา มุข ยสฺส โส ทุมุโข ทุมํมุโข วา.
  42. ธูมสิข : (ปุ.) ธูมสิขะ ชื่อไฟชื่อที่ ๑๔ ใน ๑๘ ชื่อ, ไฟ. วิ. ธูโม สิขา จุฬา ยสฺส โส ธูมสิโข.
  43. นข : (ปุ. นปุ.) เล็บ(ทั้งเล็บมือเล็บเท้า),เดือยไก่,วิ.นตฺถิขํอินฺทฺริยํเอตฺถาตินโข(ไม่มีความรู้สึก).ส.นข.
  44. นิกงฺข มิกฺกงฺข : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว (ไม่มีความสงสัย) วิ. นิกฺขนฺตา กงฺขา ยสฺส โส นิกงฺโข ศัพท์หลังซ้อน ก.
  45. พหุ : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก, หลาย, ใหญ่, ใหญ่โต, อะโข, อักโข. วิ. พหติ วุทฺธึ คจฺฉตีติ พหุ. พหฺ วุทฺธิยํ, อุ.
  46. มโนวิเลข : (ปุ.) ความขูดพิเศษแห่งใจ, ความสงสัย. วิ. มนํ วิเลขติ ทฺวิธากรณวเสนาติ มโนวิเลโข.
  47. มาทิกฺข มาทิส มาที มาริกฺข มาริส : (วิ.) ผู้เช่นกับด้วยเรา, ผู้เช่นเรา. วิ. มมิว นํ ปสฺสตีติ มาทิกฺโข. อหํ วิย โส ทิสฺสตีติ วา มาทิกฺโข. อมฺห บทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. แปลง อมฺห เป็น ม ทีฆะ รูปฯ ๕๗๒.
  48. โมกฺข : (วิ.) เป็นหัวหน้า, เป็นประธาน, ประเสริฐ, สูงสุด. วิ. หีนมชฺฌิมภาเวหิ มุจฺจตีติ โมกฺโข (พ้นจากภาวะเลวและภาวะปานกลาง). มุจฺ โมจเน, โต ตสฺส โข, จสฺส โก จ.
  49. ยาทิส ยาทิกฺข ยาริส ยาที : (วิ.) ผู้เช่นใด, ฯลฯ. วิ. ย มิว นํ ปสฺสติ โย วิย ทิสฺสตีติ วา ยาทิโส ยาทิกฺโข วา ยารฺโส วา ยาที วา. รูปฯ ๕๗๒.
  50. สริกฺข สริกฺขก : (วิ.) อัน...เห็นเสมอ, อัน...เห็นสม, อัน...พึงเห็นเสมอ. วิ. สมานมิว มํ ปสสิตพฺโพติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เหมือนกัน. วิ. สมาน มิว นํ ปสฺสตีติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. สมานสฺส โส, ทิสฺธาตุยา ริกฺโข. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  51. [1-50] | 51-62

(0.0207 sec)