Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โทสะ , then ทส, โทส, โทสะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โทสะ, 105 found, display 1-50
  1. โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
  2. อาทิตฺตปริยายสุตฺต : นป. อาทิตตปริยายสูตร, พระสูตรที่ตรัสเปรียบราคะ, โทสะ, โมหะว่าเป็นของร้อน
  3. ทส : (ไตรลิงค์) สิบ. ส. ทศน.
  4. อสมฺปทุฏฺฐ, - โทส : ค. ไม่ถูกประทุษร้าย, ไม่ถูกเบียดเบียน
  5. โทสคต : นป. โทสะ
  6. อกุสลเจตสิกธมฺม : (ปุ.) เจตสิกธรรมอันเป็นอกุศล, อกุศลเจตสิกธรรม มี ๑๔ ดวง คือ โมหะ อหิริกะ อโนตัปปะ อุทธัจจะ โลภะ ทิฏฐิ มานะ โทสะ อิสสามัจฉริยะ กุกกุจจะ ถีนะ มิทธะ และ วิจิกิจฉา.
  7. อกุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความชั่ว, รากเหง้าแห่งบาป, รากเหง้าแห่งอกุศล มี ๓ คือ โลภะ โทสะ และ โมหะ.
  8. โทสคฺคิ : ป. ไฟคือโทสะ
  9. โทสครุ : ค. ผู้มีโทสะหนัก, ผู้มากด้วยโทสะ, ผู้มักโกรธ
  10. โทสโทส : ค. มีโทสะเป็นโทษ, มีความขัดเคืองเป็นเหตุให้เสียหาย
  11. โทสสม : ค. ซึ่งเสมอด้วยโทสะ, ซึ่งเทียบได้กับโทสะ
  12. โทสเหตุก : ค. ซึ่งมีโทสะเป็นเหตุ
  13. โทสี : ค. ผู้มีโทสะ, ผู้โกรธ
  14. อโทส : (วิ.) ไม่มีความประทุษร้าย, ไม่มีโทสะ, ไม่มีโทษ.
  15. ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
  16. โทสกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งโทสะ
  17. โทสนิย, - นีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งโทสะ, ซึ่งก่อให้เกิดความขัดเคือง
  18. โทสาปคต : ค. ผู้ไปปราศแล้วจากโทสะ, ผู้ปราศจากโทษ
  19. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  20. มคฺคเหตุธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเหตุคือมรรคได้แก่ อโลภะ อโทสะ และ อโมหะ ของผู้พรั่งพร้อมด้วยอริยมรรค.
  21. ทสพล : (ปุ.) พระทสพล พระนามของพระ พุทธเจ้าทั้งปวง อภิฯ วิ. ทานสีลขนฺตฺ- ยาทโย ฐานาฐานญฺญทาโย วา ทส พลานิ อสฺเสติ ทสพโล. รูปฯ ๓๓๗ วิ. ทส พลานิ อสฺสาติ ทสพโล (มีกำลังสิบ). ฉ พหุพ.
  22. ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
  23. ทิส : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู. วิ. ทิสตีติ ทิโส. ทิสฺ อปปีติยํ, อ. ทุสฺสตีติ วา ทิโส. ทุสฺ โทสเน, อ. แปลง อุ เป็น อิ.
  24. โทสสญฺญู : (ปุ.) บุคคลผู้รู้ซึ่งโทษ, คนรู้จักโทษ, คนมีปัญญา, คนมีปรีชา, นักปราชญ์, วิ. โทสํ ชานาคีติ โทสญฺญู. คนผู้รู้โทษ โดยปกติ, ฯลฯ. โทส+ญา ธาตุ รู ปัจ.
  25. ปโทส : (ปุ.) กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี, พลบค่ำ, เวลาพลบค่ำ. วิ. โทสาย รตฺติยา ปารมฺโภ ปโทโส. ลบ อารมฺภ แล้วแปร ป ไว้หน้า อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปทุสฺสันติ ยตฺถ สพฺพกมฺมานีติ ปโทโส. ปปุพฺโพ, ทุสฺ โทสเน, โณ.
  26. ทสสหสฺส : (นปุ.) พันสิบ, พันสิบหน, สิบพัน, หมื่น. วิ. สหสฺสสฺส ทสคุณิตํ ทสสหสฺสํ.
  27. ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
  28. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  29. ทสพลูเปต : (วิ.) ประกอบแล้วด้วยพระ ทศพลญาณ.
  30. ทสวิธ : ค. มีอย่างสิบ, มีสิบชนิด
  31. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  32. โทส : อ. ยามค่ำ, ตอนกลางคืน, ในเวลากลางคืน
  33. โทสญฺญู : ค. ผู้รู้ซึ่งโทษ, ผู้รู้จักว่าสิ่งใดเป็นโทษ, ผู้ฉลาด
  34. โทสมูล : (วิ.) มีโทษะเป็นมูล วิ. โทโส มูลํ อสฺสาติ โทสมูลํ.
  35. โทสสญฺญิต, - สญฺหิต : ค. ซึ่งประกอบด้วยโทษ
  36. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  37. ทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่ว, ความประพฤติเสียหาย, บาป. วิ. ทุ กุจฺฉิตํ จริตํ ทุจฺจริตํ. สารัตถทีปนี วิ. ทุฏฐ จริตํ ทุจฺจริตํ. วิเสเสหิ วา ทูสิตํ จริตนฺติ ทุจฺจริตํ. ทูสิต นั้นคือ ทุสฺ โทสเน, โต, อิอาคโม, ทีโฆ. คำ ทุจจริตนี้ ไทยใช้ว่า คดโกง, ฯลฯ. ส. ทุรฺศฺจริต ทุรฺจริต.
  38. ทุฏฺฐ : (วิ.) คนอันโทษประทุษร้ายแล้ว, คนฉุนฉียว, ฯลฯ. ทุสฺ โทสเน, โต.
  39. ทุสน โทสน : (นปุ.) อันประทุษร้าย, การประ- ทุษร้าย, ความประทุษร้าย. ทุสฺ โทสเน, ยุ. ศัพท์ตันทีฆะ ศัพท์หลัง พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  40. เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
  41. จตุทส จตุทฺทส จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยสี่, สิบสี่.
  42. เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
  43. โจทฺทส : ค. สิบสี่
  44. โจทส โจทฺทส : (อัพ. นิบาต) สิบสี่. ดู จุทฺทส.
  45. ติณโทส : ค. มีหญ้าเป็นโทษ; อันเสียหายเพราะหญ้า
  46. ทีฆทส : ค. มีชายยาว
  47. โทโส : (อัพ. นิบาต) ราตรี (กลางคืน), ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), หัวค่ำ.
  48. นิทฺโทส : (วิ.) มีโทษออกแล้ว, ไม่มีโทษ, ปราศจากโทษ, ออกแล้วจากโทษ, นิรโทษ. ส. นิรฺโทษ.
  49. มโนปโทส : (ปุ.) ความประทุษร้ายในใจ, ความประทุษร้ายด้วยใจ.
  50. อภิโทส : ป. พลบค่ำ, ย่ำค่ำ, เย็นวานนี้
  51. [1-50] | 51-100 | 101-105

(0.0247 sec)