Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โรค , then รค, โรค, โรคา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โรค, 141 found, display 1-50
  1. โรค : ป. โรค, ความป่วยไข้, ความไม่สบาย
  2. โรคหารี : ป. ผู้รักษาโรค, หมอ
  3. กณฺณโรค : (ปุ.) โรคเกิดที่หู, โรคหู.
  4. กุจฺฉิโรค : ป. โรคท้อง, โรคในท้อง
  5. ขิปิตโรค : (ปุ.) โรคไอ, โรคจาม.
  6. ฆานโรค : ป. โรคจมูก
  7. นาสิกาโรค : (ปุ.) โรคเกิดในจมูก, ริดสีดวง จมูก, มองคร่อ, หวัด, ไข้หวัด. วิ. นาสิกาย ชาโต โรโค นาสิกาโรโค.
  8. นิโรค : (วิ.) มีโรคออกแล้ว, ไม่มีโรค, ฯลฯ.
  9. ปณฺฑุโรค, - ฑุกโรค : ป. โรคผอมเหลือง, โรคดีซ่าน
  10. ปพฺพวาตโรค : (ปุ.) โรคลมเข้าข้อ.
  11. ปิฏฺฐิโรค : ป. โรคปวดสันหลัง
  12. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  13. สงฺกนฺติกโรค : ป. โรคระบาด
  14. สสฺสโรค : (ปุ.) โรคของข้าวกล้า, ข้าวตายฝอย.
  15. เสมฺหโรค : (ปุ.) โรคเกิดเพราะเสมหะ, ไข้หวัดใหญ่.
  16. อกฺขิโรค : ป. โรคตา
  17. อฏฺฏิ : (อิต.) ความเบียดเบียน, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, แผล.อฏฺฏ อนาทาเร, อิ.
  18. อติโรค : (ปุ.) โรคร้ายแรง. ส. อติโรค ว่าโรคฝีในท้อง.อ
  19. โรค : (วิ.) ไม่มีโรค, ไม่มีไข้, ไม่เป็นโรค, ไม่เป็นไข้, สบาย.
  20. โรคภาว : ป. ความไม่มีโรค, ความไม่เจ็บป่วย
  21. โรค, อาโรค : ค. ไม่มีโรค, ซึ่งไม่เจ็บป่วย
  22. อาโรคตา : อิต. ดู อารูคฺย
  23. ฑห : (ปุ.) ความร้อน, โรคพิษ, โรคร้อน, โรค ร้อนใน. ฑหฺ ฑยฺหเน, อ.
  24. กชฺชล : (นปุ.) ยาตา, ยาทาตา (ยาหยอดแก้ โรค ยาหยอดทำให้ตาเยิ้ม). วิ. กชฺชติ โรคนฺติ กชฺชลํ. กชฺช พฺยถเน, อโล.
  25. คท : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. คํ วุจฺจติ ทุกฺขํ. ตํ เทตีติ คโท. คปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. คท.
  26. เคลญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเจ็บ, ความเป็นแห่งความเจ็บไข้, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเจ็บ, ฯลฯ. วิ. คิลานสฺส ภาโว เคลญฺญ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความเจ็บ, ฯลฯ, ความไม่สบาย, โรค. ณฺย ปัจ. สกัด.
  27. อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
  28. อนุปกฺกม : ค. ไม่ก้าวไป, ไม่เบียดเบียน(โรค)
  29. อาพาธ : (ปุ.) โรคอันเบียดเบียนโดยยิ่ง, ความเบียดเบียนยิ่ง, ความไม่สบาย, ความป่วย, ความป่วยไข้, ความเจ็บไข้, โรค.วิ.อาพาธติจิตฺตํวิโลเฬตีติอาพาโธ.อาปุพฺโพ พาธฺ วิโลฬเน, อ.ส. อาพาธ.
  30. อาตกอาตงฺก : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบายความรำคาญ, ความกังวล, ความห่วงใย, ความเร่าร้อน, ความดือดร้อน, โรค.วิ.อาภุโสตํกตีติอาตํโกอาตงฺโกวา.อาปุพฺโพกติกิจฺฉชีวเน, อ.ส.อาตงฺก.
  31. อามย : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความป่วยไข้, ความไม่สบาย, โรค.วิ.อามยติรุชฺชตีติอามโย.อาปุพฺโพ, มยฺคติมฺหิ, อ. อาภุโส มิโนติอตฺตสมงฺคีนนฺติวาอามโย.อาปุพฺโพ, มิหึสายํ, โณ.อมฺวาโรเค, โย, ทีโฆ.ส. อามย.
  32. โรค : ค. ผู้ป่วย, ผู้มีโรค
  33. กจฺฉุ : (อิต.) โรคคัน, หิด, หิดเปื่อย, คุดทะราด, หูด, เต่าร้าง, หมามุ่ย. กสฺ หึสายํ, อุ, สสฺส จฺโฉ. ส. กจฉู.
  34. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  35. กณฺฑุโรค : ค. เป็นโรคฝี
  36. กณฺฑุวน กณฺฑูวน : (นปุ.) ความคัน, โรคคัน, โรคกลาก. กณฺฑฺ เภทเน, ยุ, อสฺสุวาเทโส (แปลง อ เป็น อุว) ศัพท์หลังทีฆะ.
  37. กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
  38. กาลสมุฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อมแห่ง กาล, กาลสมุฏฐาน กาลสมุตถาน เรียกโรค ที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามปกติ.
  39. กาส : (ปุ.) โรคไอ วิ. กาสตีติ กาโส. กาสฺ สทฺทกุจฺฉายํ, โณ. กุจฺฉิตํ สสตีติ วา กาโส. กุจฺฉิตปุพฺโพ, สสฺ ปาณเน, โณ, สฺโลโป. การไอ วิ. กาสนํ กาโส. ส. กาศ, กาส.
  40. กาฬโรค : (ปุ.) โรคดำ, กาฬโรคชื่อโรคระบาด ร้ายแรงชนิดหนึ่งมักมีการบวมนูนที่รักแร้ เป็นต้น.
  41. กิฏิพ : (นปุ.) โรคเรื้อนผง?
  42. กิลาส : ป. โรคกลาก, โรคผิวหนัง
  43. กุฏฐ : ๑. นป. โรคเรื้อน; ต้นโกฐ; ๒. ค. เล็ก, น้อย, รอง
  44. กุฏฐี : ป. คนเป็นโรคเรื้อน, คนขี้เรื้อน
  45. กุสม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของหญิง, ระดูของ หญิง. กุสฺ อวหาเณ, อโม.
  46. กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
  47. กุสุม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของผู้หญิง, ประจำ เดือนของหญิง, ประจำเดือน (ระดูของ หญิง), ระดูของหญิง. อภิฯ เป็น นปุ กุสฺ อวฺหาเณ, อุโม.
  48. โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา; ๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
  49. ขชฺชุ : (อิต.) กลาก, โรคกลาก, ขี้กลาก, หิด, โรคหิด, หืด?. ขชฺชฺ พฺยถเน, อุ.
  50. คหณี : (อิต.) ท้อง. คหฺ อุปาทาเน, อนิ, อิตฺถิยํ อี. ท้องของหญิง วิ. คพฺถํ คณฺหาติ ธาเรตีติ คหณี. คพฺภาสยสญฺญิโต มาตุกุจฺฉิปฺปเท โส. ไฟย่อยอาหาร, ไฟธาตุ. เตโชธาตุมฺหิ ยถาภุตฺตาหารสฺส วิปาจนวเสน คณฺหณ โต คหณี. เป็นชื่อของโรคก็มี.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-141

(0.0276 sec)