Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ได้ยิน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ได้ยิน, 20 found, display 1-20
  1. สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
  2. กิร : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, ดังได้สดับมา, ทราบว่า, ได้ทราบว่า, นัยว่า, ข่าวว่า. เป็น อนุสสวนัตถะ. ไม่ชอบใจ. เป็น อรุจิยัตถะ.
  3. ขลุ : อ. แน่แท้, แท้จริง, ได้ยินว่า
  4. โข : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, แล, แท้, แท้จริง, นัก
  5. จตุกณฺณ จตุกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมสี่ คือการปรึกษากันสองคน ได้ยินกันสี่หู ( มนฺต การปรึกษา ). วฺ. จตฺตาโร กณฺณา เอตฺถาติ จตุกฺกณฺโณ. ทฺวินฺน ชนาน วิสยภูโต โส มนฺโต จตุกฺกณฺโณ. นาม.
  6. ฉกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมหก คือการปรึกษากัน สามคน ได้ยินกันหกหู. วิ. ติณฺณํ ชนานํ วิสยภูโต โส มนฺโต ฉกฺกณฺโณ นาม. ฉ กณฺณา เอตฺถาติ ฉกฺกณฺโณ. มนฺต แปลว่า การปรึกษา. ฉกฺขตฺตุ (อัพ. นิบาต) หกครั้ง, หกคราว, หก หน, สิ้นหกครั้ง,ฯลฯ. ดู จตุกฺขตฺตุ ประกอบ
  7. ทิพฺพโสต : (ปุ. นปุ.) หูทิพ,หูทิพย์(ฟังอะไรได้ยินหมดแม้อยู่ไกล).
  8. ธมฺมโสต : ๑. นป. ธรรมโสต, หูได้ยินธรรม; ๒. ป. กระแสแห่งธรรม
  9. พหุสุต, พหุสุตก, พหุสฺสุต, พหุสฺสุตก : ค. พหูสูต, ผู้มีความรู้มาก, ผู้คงแก่เรียน, ผู้ได้ยินได้ฟังมาก, นักปราชญ์
  10. ยคฺเฆ : (อัพ. นิบาต) เป็นคำอาลปนะของคนที่ต่ำพูดกับคนที่สูงกว่า แปลว่า ขอเดชะ หรือ สรวมชีพ. และแปลว่า ได้ยินว่า, แล.
  11. สุท : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, ทราบว่า, แล.
  12. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  13. อนุสฺสว : ป. ๑. การได้ยินเล่าลือกันมา; ๒. จารีต, ธรรมเนียม
  14. อนุสฺสวิก : ค. ผู้ได้ยินได้ฟังสืบๆ กันมา
  15. อนุสฺสาเวติ : ก. ให้ได้ยิน, แจ้งให้ทราบ
  16. อนุสฺสุต : ๑. กิต. ได้ฟังแล้ว, ได้ยินแล้ว ; ๒. ค. ไม่ชุ่ม, ปราศจากราคะ
  17. อมูลอมูลก : (วิ.) มีมูลหามิได้, ไม่มีมูลคือไม่ได้เห็นไม่ได้ยินไม่ได้รังเกียจ, ไม่มีหลักฐาน.
  18. อมูล อมูลก : (วิ.) มีมูลหามิได้, ไม่มีมูล คือไม่ ได้เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ได้รังเกียจ, ไม่มีหลัก ฐาน.
  19. อสฺสุต : ค. ไม่ได้ฟัง, ไม่ได้ยินแล้ว
  20. อิติกิร : อ. ดังข้าพเจ้าได้ยินมาดังนี้

(0.0063 sec)