วร : ๑. ค. ประเสริฐ, ยอดเยี่ยม ;
๒. ป. พร
กเฬพร, - วร : ป., นป. ร่างกาย, อัตภาพ, ซากศพ
กายสวร : ป. การสำรวมกาย, การควบคุมกาย
ธีรวร : (ปุ.) ประมง (การจับสัตวน้ำ) ปะมง ประโมง ก็ใช้, คนจับปลา, ชาวประมง วิ. ชาลกุมินาทีนิ ธาเรตีติ ธีวโร. ธา ธารเณ, อีวโร. ส. ธีวนฺ, ธีวร.
นครวร : นป. นครที่ประเสริฐ, เมืองที่ประเสริฐ, เมืองเจริญ
ปาฏิโมกฺขสวร : ป. การสำรวมในพระปาฏิโมกข์
ลูขจีวร : ค. ผู้ห่มจีวรอันเศร้าหมอง
วีร : ค. กล้า
วีรุ : อิต. เถาวัลย์
เวร : นป. การไปผิด; บาป; เวร, ความปองร้ายกัน, ความเกลียดชัง
เวรี : ค. ผู้มีเวร; ศัตรู
สยวร : (ปุ.) สยมพร สยัมพร สยุมพร ชื่อพิธีการเลือกคู่ของกษัตริย์สมัยโบราณ การเลือกคู่ของนางกษัตริย์สมัยโบราณ.
สวร : ป., สํวรณ นป. ความสำรวม
อธิวร : ค. ประเสริฐยิ่ง
อสวร : ป. การไม่สังวร, การไม่ระวัง
อินฺทฺริยสวร : (นปุ.) ความสำรวมซึ่งอินทรีย์, อินทรีย์สังวร คือการสำรวมอายตนะ ภายใน ๖.
อินฺทุริยสวร : ป. อินทรีย์สังวร, การระวังรักษาอินทรีย์
กจวร : (ปุ.) หยากเยื่อ (เศษของที่ทิ้งแล้ว), มูล ฝอย, ขยะมูลฝอย. วิ. นานาวิเธ สํกาเร ราสีกรณวเสน กจตีติ กโจ. กจฺ พนฺธเน, อ. กโจ เอตฺถ อิจฺฉิตพฺโพติ กจวโร. วรฺ อิจฺฉายํ, อ. วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน.
กเลวร กเลวฬ กเลพร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ซากศพ, ซากผี, ขั้น วิ. กเล วรตีติ กเลวรํ. กลปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, อ. ไม่ลบ วิภัตติ บทหน้า. ส. กลเวร.
เกลาสกูฏปฏิภาค : (วิ.) มีส่วนเปรียบด้วยยอด แห่งภูเขาชื่อว่าไกลาส มี วิ. ดังนี้. สัมภาวนปุพฺ กัมฺ เกลาโส อิติ ปพฺพโต เกลาสปพฺพโต. ฉ. ตัป. เกลาสปพฺพตสฺส กุโฏ เกลาสกูโฏ. ฉ. ภินน. พหุพ. เกลาสกูเฏน ปฏิภาโค เยน โส เกลาสกูฏปฏิภาโค (วรวารโณ).
ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
คเณส : (ปุ.) พระคเณส พระคเณศ ชื่อเทพ องค์หนึ่งมีเศียรเป็นช้างเป็นเทพแห่งศิลปะ วิฆเนศ พิฆเนศ คเณศ พิฆเนศวร วิฆเนศวร ก็เรียก.
ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
ทนฺตาวรณ : (นปุ.) ที่เป็นที่กั้นซึ่งฟัน, ริม ฝีปาก. วิ. ทนฺเต อาวรตีติ ทนฺตาวรณํ. ทนฺตปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, ยุ.
ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
นิวาร : (ปุ.) การป้องกัน, ความป้องกัน. นิปุพฺโพ, วรฺ อาวรณ์เณ, โณ.
นิวารณ : (นปุ.) การปิด, การปิดบัง, การเปิด บังให้พ้นภัย, การเกียดกัน, การป้องกัน, การป้องกันให้พ้นภัย, การพิทักษ์รักษา, ความปิด. ฯลฯ. นิปุพฺโพ, วรฺ อา วรเณ, ยุ. ส. นิวารณ การขัดขวาง, การต่อต้าน.
นิวารย : (วิ.) อัน...พึงห้าม, อัน...พึงกั้น. นิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, โณฺย.
ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
สยวรา : (อิต.) หญิงเลือกผัว วิ. สยํ เมว ปตึ วรตีติ สยํวรา. วรฺ ปตฺถนายํ, อ.