Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดัง , then ดง, ดัง, ตํ .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ดัง, 475 found, display 451-475
  1. ทักข์ ๒ : ก. ดู, แล, เห็น, เช่น เล็งทักข์อาทรเธอ เท่าฟ้า, เล็งทักข์ทุรเวทแล้ว เล็งดอย ดงนา. (ลํานํ้าน้อย).
  2. ธุดงควัตร : [ทุดงคะวัด] น. กิจอันภิกษุผู้ถือธุดงค์ควรทํา.
  3. ธุดงคสมาทาน : [ทุดงคะสะมาทาน] น. การถือธุดงค์.
  4. บง ๔ : (โบ) ก. บ่ง, ชี้, ระบุ, เช่น แถลงปางแสดงดิพรเกื้อ บุญบง บาปนา. (ยวนพ่าย).
  5. เบิกโรง : ก. แสดงก่อนดําเนินเรื่อง, แสดงออกโรงครั้งแรก.
  6. ใบลา : น. เอกสารแสดงความจํานงขอลางาน.
  7. ปากจิ้งจก ๒ : น. ชื่องูชนิด Ahaetulla prasina ในวงศ์ Colubridae หัวและตัว เรียวยาว ส่วนมากตัวสีเขียวปลายหางสีนํ้าตาลแดง ยาวประมาณ ๑.๓ เมตร ตัวสีส้มเรียก งูง่วงกลางดง ตัวสีเทาเรียก งูกล่อมนางนอน มีพิษอ่อนมาก.
  8. ปากซ่อม : น. ชื่อนกในวงศ์ Scolopacidae ลําตัวป้อม ลายนํ้าตาลและขาว ปากยาวแหลมเล็ก ขาสั้น หากินในเวลาพลบคํ่าและเวลากลางคืน ใช้ปากแทงหาอาหารจําพวกหนอนและไส้เดือนในดิน มักอยู่ตาม ลําพัง มีหลายชนิด เช่น ปากซ่อมหางเข็ม (Gallinago stenura) ปากซ่อมหางพัด (G. gallinago) ปากซ่อมดง (Scolopax rusticola).
  9. ผันหม้อ : ก. ดงข้าว คือ ทําข้าวให้ระอุ.
  10. พง ๑ : น. ดงหญ้าหรือดงไม้ที่เป็นหมู่ ๆ หรือที่รก ๆ เช่น ป่าดงพงพี รกเป็นพง.
  11. พญารากดำ : น. ชื่อไม้ต้นชนิด Diospyros variegata Kurz ในวงศ์ Ebenaceae ใช้ ทํายาได้, ดําดง หรือ ฝีหมอบ ก็เรียก.
  12. ละลิบ : ว. ลิบ, ลิ่ว, สูง, โด่ง, ไกล, ลอยไปไกล.
  13. ไวพจน์ : น. คําที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น มนุษย์กับคน บ้านกับเรือน รอกับคอย ป่ากับดง, คําพ้องความ ก็ว่า, (ป. เววจน); (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทย ของพระยา ศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คําที่ออกเสียง เหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใสกับไส โจทก์กับโจทย์ พานกับพาล, ปัจจุบันเรียกว่า คําพ้องเสียง.
  14. เศวดงค์ : [สะเหฺวดง] ว. มีตัวขาว. (ส. เศฺวต + องฺค).
  15. สลับสล้าง : [สะหฺลับสะล่าง] ว. เรียกลักษณะต้นไม้ที่ขึ้นเป็นดง มอง จากที่สูงแลเห็นยอดสูง ๆ ต่ำ ๆ เช่น ขึ้นไปบนยอดเขา เห็นต้นไม้ขึ้น สลับสล้างเต็มไปหมด.
  16. หงส์ลีลา ๒ : [หงลีลา] น. ชื่อท่ารำท่าหนึ่งอยู่ในลำดับว่า นาคาม้วนหาง กวางเดินดง หงส์ลีลา. (ฟ้อน).
  17. หนอ : [หฺนอ] อ. คําออกเสียงแสดงความรําพึง เช่น ชีวิตนี้ไม่เที่ยงหนอ น่าอนาถจริงหนอ.
  18. หุงข้าว : ก. เอาข้าวสารและน้ำใส่หม้อตั้งบนเตาไฟให้ร้อนจนเดือดแล้ว ปลงลงเช็ดน้ำ จากนั้นยกขึ้นดงบนเตาไฟจนสุก เรียกว่า หุงเช็ดน้ำ ถ้าเคี่ยว จนน้ำแห้งไปเองโดยไม่ต้องเช็ดน้ำ เรียกว่า หุงไม่ต้องเช็ดน้ำ, โดยปริยาย หมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น หุงข้าวด้วยหม้อไฟฟ้า.
  19. เหมือน : [เหฺมือน] ว. ดั่ง, เช่น, ดั่งเช่น, อย่าง, เช่น เขาทำได้เหมือนใจฉันเลย.
  20. อฏวี : [อะตะ] น. ดง, ป่า, พง. (ป., ส.).
  21. อยู่ : [หฺยู่] ก. พัก, อาศัย, เช่น เขาอยู่บ้านหลังนี้; ยังมีชีวิต เช่น เขายังอยู่; คงที่ เช่น เงินที่ให้มายังอยู่ครบ, ไม่ไปจากที่ เช่น วันนี้เขาอยู่บ้าน; ใช้ประกอบหลังกริยา แสดงว่ากําลังเป็นอยู่ในขณะนั้น เช่น นอนอยู่ ตั้งอยู่.
  22. อาราธนาพระปริตร : ก. ขอนิมนต์ให้พระสงฆ์สวดมนต์ โดยกล่าว คำเป็นภาษาบาลีว่า วิปตฺติปฏิพาหาย ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ.
  23. โองโขดง : [ขะโดง] น. ทรงผมของหญิงไทยสมัยโบราณ ซึ่งรวบขึ้นไปเกล้า ไว้บนขม่อมเป็นห่วงยาว ๆ โดยมากมีเกี้ยวหรือพวงมาลัยสวม, โซงโขดง ก็ว่า.
  24. โอหนอ : (กลอน) อ. คําที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงความรําพึงในเวลาดีใจหรือ เสียใจ.
  25. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-475]

(0.0286 sec)