Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ป่า , then บ่า, ปา, ป่า .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ป่า, 570 found, display 401-450
  1. อารัญญิก, อารัณยกะ ๑ : [รันยิก, รันยะกะ] ว. เกี่ยวกับป่า, เกิดในป่า, มีในป่า. (ป. อาร?ฺ??ก; ส. อารณฺยก).
  2. อารัญ, อารัณย์ : ว. อยู่ในป่า, มีในป่า. (ป. อาร?ฺ?; ส. อารณฺย).
  3. อารัณยกะ ๒ : [รันยะกะ] น. ชื่อคัมภีร์ศาสนาพราหมณ์คู่กับคัมภีร์พราหมณะ สำหรับผู้ที่สละทางโลกเข้ามาปฏิบัติธรรมในป่า ลักษณะเนื้อหา ไม่แตกต่างกับคัมภีร์พราหมณะมากนัก.
  4. อาเวศ : [เวด] น. ทาง เช่น พนาเวศ ว่า ทางป่า. (ส. อาเวศ ว่า การเข้า, ทางเข้า).
  5. อีนูน : (ถิ่นอีสาน) น. ชื่อไม้เถามีหัวชนิด Adenia pierrei Gagnep. และชนิด A. viridiflora Craib ในวงศ์ Passifloraceae ขึ้นปกคลุม ต้นไม้ตามป่าทั่วไป ทุกส่วนเป็นพิษ ยอดอ่อนดองแล้วกินได้, นางนูน หรือ ผักสาบ ก็เรียก.
  6. บ่า ๒ : ว. อาการที่นํ้าไหลล้นมาโดยเร็ว; อะไร, ทําไม.
  7. ปาจรีย์, ปาจารย์ : [ปาจะรี, ปาจาน] น. อาจารย์ของอาจารย์. (ป.; ส. ปฺราจารฺย = ปฺราคต + อาจารฺย).
  8. ปารุสกวัน : [ปารุดสะกะ-] น. ชื่อสวนของพระอินทร์ ๑ ใน ๔ แห่ง ได้แก่ นันทวัน ปารุสกวัน จิตรลดาวัน และมิสกวัน. (ป. ปารุสกวน).
  9. ปานีโยทก : ดู ปานีย-, ปานียะ.
  10. ปาทะ : น. บาท, ตีน. (ป.).
  11. ปานีโยทก : น. นํ้าควรดื่ม. (ป., ส. ปานีย + อุทก).
  12. ปารุปนะ : [-รุปะนะ] น. ผ้าห่ม. (ป.).
  13. ปาสาทิกะ : (แบบ) ว. นํามาซึ่งความเลื่อมใส; น่ารัก, น่าชม. (ป.).
  14. ปานีย-, ปานียะ : [ปานียะ-] ว. ควรดื่ม, น่าดื่ม, ดื่มได้. (ป., ส.).
  15. กรรบาสิก, กรรปาสิก : [กับบา-, กับปา-] (แบบ) ว. อันทอด้วยฝ้าย. (ส. การฺปาสิก; ป. กปฺปาสิก).
  16. กระบุ่มกระบ่าม : ว. บุ่ม ๆ บ่าม ๆ, ซุ่มซ่าม.
  17. เคียงบ่าเคียงไหล่ : ว. มีฐานะเสมอกัน ทัดเทียมกัน หรืออยู่ในระดับ เดียวกัน; ร่วมสุขร่วมทุกข์หรือร่วมเป็นร่วมตายด้วยกัน เช่น รบเคียงบ่าเคียงไหล่.
  18. จตุปาริสุทธิศีล : [จะตุปาริสุดทิสีน] น. ศีลคือความบริสุทธิ์ หรือ ศีลคือ เครื่องให้บริสุทธิ์ ๔ ประการ คือ ๑. สํารวมในพระปาติโมกข์ (ปาติโมกฺขสํวร) ๒. สํารวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (อินฺทฺริยสํวร) ๓. เลี้ยงชีพโดยทางชอบ (อาชีวปาริสุทฺธิ) ๔. บริโภคปัจจัยด้วยการพิจารณา (ปจฺจยสนฺนิสฺสิต). (ป.).
  19. เฉวียงบ่า : ว. เรียกการห่มผ้าปิดทางบ่าซ้ายเปิดบ่าขวาว่า ห่มเฉวียงบ่า.
  20. ดอย ๒ : ก. ผูก, มัด, ตอก, ชก, ตี, ปา, ทอย.
  21. เทียมบ่าเทียมไหล่ : ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายาม สร้างฐานะจนเทียมบ่าเทียมไหล่กับญาติพี่น้อง, เทียมหน้าเทียมตา หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า.
  22. อุปปาติกะ : [อุปะปาติกะ, อุบปะปาติกะ] น. ผู้เกิดผุดขึ้นโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ อาศัยอดีตกรรม ได้แก่เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย, โอปปาติกะ ก็เรียก. (ป. อุปปาติก, โอปปาติก).
  23. อุปาหนา : [อุปาหะนา, อุบปาหะนา] น. รองเท้า. (ป.; ส. อุปานหฺ).
  24. โอปปาติกะ : [โอปะ] น. ผู้เกิดผุดขึ้นโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ อาศัยอดีตกรรม ได้แก่เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย, อุปปาติกะ ก็เรียก. (ป.).
  25. ขวัญบ่า : ก. ขวัญไหลไปจากตัว
  26. คอตั้งบ่า : ว. อาการที่แหงนหน้าขึ้นสูง ๆ.
  27. จัมปา : น. จำปา, แหนบรูปคล้ายกลีบดอกจำปาซึ่งติดอยู่กับแกนในประแจจีน สำหรับยันไม่ให้กุญแจหลุดออกจากกัน.
  28. ชมพูพาดบ่า : น. ท่ารําชนิดหนึ่งแห่งควาญช้าง รําเมื่อนําช้างบํารูงาเสร็จ ครั้งแรกแล้ว.
  29. ป่า : ก. พ่นลมออกมาทางปาก, อาการที่ลมพุ่งเข้ามาหรือออกไปเช่นนั้น เช่น ตรงหน้าต่างลมเป่าดี, ทําให้เครื่องดนตรีหรือสิ่งอื่นเกิดเสียง โดยใช้ลมปากเช่น เป่าขลุ่ย, ทําให้สิ่งที่อยู่ในลํากล้องเช่นกล้องเป่า เป็นต้น ออกจากลํากล้องโดยวิธีเป่า เช่น เป่ายานัตถุ์ เป่าลูกดอก.
  30. มะกอกสามตะกร้าปาไม่ถูก : (สํา) ก. พูดจาตลบตะแลงพลิกแพลง ไปมาจนจับคําพูดไม่ทัน. น. คนกลับกลอก.
  31. เมงอะปา : ว. ทําไม. (ช.).
  32. ไม่เหลือบ่ากว่าแรง : (สํา) ว. ไม่เกินความสามารถที่จะทําได้.
  33. รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม : (สํา) ก. เรียนรู้ไว้ไม่หนักเรี่ยวหนักแรงหรือ เสียหายอะไร.
  34. เหลือบ่ากว่าแรง : ว. เกินความสามารถที่จะทําได้, เกินกําลัง.
  35. แหงนคอตั้งบ่า : (สำ) ก. เงยเต็มที่.
  36. ท่วม : ก. ไหลหลาก บ่า หรือเอ่อท้นจนลบพื้นที่หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น นํ้าท่วมทุ่ง นํ้าท่วมบ้าน, กลบ เช่น ทรายท่วมเท้า, ซาบซึมไปทั่ว เช่น เหงื่อท่วมตัว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น หนี้ท่วมตัว ความรู้ท่วมหัว.
  37. ลิว : ก. เอามีดเฉือนหนังทั้งแผ่นให้เป็นเส้นเพื่อทําเชือกหนัง; ร่อน, ขว้าง, ปา.
  38. ปาจนะ : ปาจะ-] (แบบ) น. ประตัก. (ป.; ส. ปฺราชน).
  39. ปาป- : [ปาปะ-] น. บาป. (ป., ส.).
  40. ปายาส : [ปายาด] น. ข้าวชนิดหนึ่งที่หุงเจือด้วยนํ้านมและนํ้าตาล, ข้าวเปียกเจือนม. (ป.).
  41. ปาร- : [ปาระ-] น. ฝั่ง, ฝั่งตรงข้าม; ที่สุด; นิพพาน. (ป., ส.).
  42. ปารมี : [ปาระ-] (แบบ) น. บารมี. (ป.).
  43. ปาวจนะ : [ปาวะจะนะ] (แบบ) น. ปาพจน์. (ป.).
  44. ปาวาร : [ปาวาน] (แบบ) น. ผ้าห่มใหญ่. (ป.; ส. ปฺราวาร).
  45. ปาษาณ : [ปาสาน, ปาสานะ] (แบบ) น. หิน. (ส.; ป. ปาสาณ).
  46. ปาส : [ปาสะ, ปาด] (แบบ) น. บาศ, บ่วง. (ป.; ส. ปาศ).
  47. ปาสาณ : [ปาสาน, ปาสานะ] (แบบ) น. หิน. (ป.; ส. ปาษาณ).
  48. ปาหุณ : [ปาหุน, ปาหุนะ] (แบบ) น. ผู้มาหา, แขก. (ป., ส.).
  49. กฏุกผล : [กะตุกะผน] (แบบ) น. ผลอันเผ็ดร้อน. (ชุมนุมตํารากลอน ปาราชิตฉันท์).
  50. กรวม : [กฺรวม] ก. สวม เช่น วงแหวนกรวมหัวเสา, ครอบ เช่น เอากรวยกรวมพนมดอกไม้, คร่อม เช่น ปลูกเรือนกรวม ตอ ปลูกเรือนกรวมทาง; รวมความหมายหลายอย่าง เช่น กรวมความ; กํากวม เช่น พูดกรวมข้อ. (ปาเลกัว).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-570

(0.0416 sec)