Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ขึ้น , then ขน, ขึ้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ขึ้น, 638 found, display 301-350
  1. อสมุฏฺฐิต : ค. ไม่ตั้งขึ้น, ไม่อุบัติขึ้น
  2. อสมูหต : กิต. ไม่ถูกถอนขึ้น, ไม่ถูกเพิกขึ้น
  3. อเสขอเสกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษา, บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษาเพื่อคุณอันยิ่งขึ้นไปอีก(เพราะจบการศึกษาแล้วคือละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว), บุคคลผู้สำเร็จการศึกษา (ในเรื่องละกิเลสเพราะละกิเลสได้เด็ดขาดแล้ว), พระอเสขะคือ พระอริยบุคคลผู้บรลุพระอรหันตผลแล้ว, อเสขะอเสกขะชื่อของพระอรหันต์, พระอรหันต์.วิ.ตโตอุตฺตริกรณียาภาวโตนตฺถิสิกฺขาเอตสฺสาติอเสโขอเสกฺโขวา.
  4. อาจย : ป. การสั่งสม, การรวบรวม, ก่อทำขึ้น
  5. อาชว : ป. ตัณหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
  6. อาปาทก : ๑. ป. ผู้ดูแลเด็ก, คนเลี้ยงเด็ก ; ๒. ค. ผลิตขึ้น, ก่อให้เกิดขึ้น, นำไปสู่
  7. อาปาเทติ : ก. พยาบาล, บำรุง, รักษา, ผลิตขึ้น
  8. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  9. อารุยฺห : กิต. ขึ้นแล้ว, งอกขึ้นแล้ว, เติบโตขึ้นแล้ว
  10. อารุหติ : ก. ขึ้น, งอกขึ้น, เติบโตขึ้น
  11. อารุหน : นป. การขึ้น, การงอกขึ้น, การเติบโตขึ้น, การเจริญขึ้น
  12. อารูฬฺห : กิต. ขึ้น, งอกขึ้น, เจริญขึ้น
  13. อาโรปน : (นปุ.) การยกขึ้น, การเนา (เย็บห่าง ๆ พอให้อยู่เป็นเนา).อาบทหน้า รุปฺธาตุในความตั้งไว้ยุ ปัจ.
  14. อาโรเปติ : ก. ปลูก, เพาะ, ยกขึ้น ; ฟ้องร้อง, กล่าวหา; สั่งสอน
  15. อาโรห : (วิ.) ยาว, ยกขึ้น, ขึ้นไป, สูง, ทรวดทรง
  16. อาโรหณ, - หน : นป. การขึ้น, การปีน
  17. อาโรหน : (นปุ.) การยกขึ้น, การขึ้นไป, ความยาว, ส่วนยาว, ความสูง, ส่วนสูง.อาปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, โณ.ส.อาโรห, อาโรหณ.
  18. อาลยสมุคฺฆาต : (ปุ.) ความถอนขึ้นด้วยดีซึ่ง อาลัย, ความหมดกังวล, ความหมด อาลัย, ความหมดตัณหา.
  19. อาสวติ : ก. ไหลไป, เกิดขึ้น
  20. อาสาวติ : อิต. ชื่อเถาวัลย์ที่งอกขึ้นที่สวนจิตลดาสรวงสวรรค์
  21. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  22. อาหารตฺถก : (ปุ.) อาหารัตถกะ ชื่อคน คนใด บริโภคอาหารจนไม่อาจลุกขึ้นได้โดยธรรมดาของตน จึงกล่าวว่าฉุดมือทีคนนั้น ชื่อ อาหารัตถกะ.
  23. อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.
  24. อิทฺธาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งแห่งฤทธิ์, การปรุงแต่งขึ้นด้วยฤทธี.
  25. อิสฺสรนิมฺมาณ : นป. การเนรมิตขึ้น, การสร้างขึ้น
  26. อิสฺสรภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็น ใหญ่, อิสสรภาพ อิสรภาพ (ความเป็น ใหญ่ในตัวเอง ความไม่ขึ้นแก่ใคร).
  27. อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
  28. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  29. อุ : อ. เป็นอุปสรรค ใช้ต่อหน้าศัพท์มีความหมายว่า ขึ้น, นอก, เหนือ, บน
  30. อุกฺกชฺชติ : ก. หงาย, หงายขึ้น, ตั้งขึ้น
  31. อุกฺกฏฺฐ : (ปุ.) เสียงอันบุคคลกล่าว, เสียงอัน บุคคลเปล่งขึ้น, เสียงโห่.
  32. อุกฺกณฺฐิ : (อิต.) ความกระสัน, ความกระสันขึ้น.
  33. อุกฺกณฺณ : ค. มีหูชัน, มีหูตั้งขึ้น
  34. อุกฺกุชฺช : ค. หงาย, หงายขึ้น, ตั้งขึ้น
  35. อุกฺกุชฺชน : (นปุ.) การหงาย. อุปุพฺโพ, กุชฺชฺ อโธมุขีกรเณ, ยุ. อุกฺกุฏน อุกฺโกฏน (ปุ., นปุ.?) การยกขึ้น, การเผยขึ้น, การเลิกขึ้น, การรื้อฟื้น.
  36. อุกฺกุชฺเชติ : ก. หงาย, ให้ตั้งขึ้น, เปิดเผย
  37. อุกฺกุฏิก : (วิ.) กระหย่ง, กระโหย่ง. (ทำให้สูงขึ้นหรือทำสิ่งที่รวมกันอยู่ให้ ขยายตัวขึ้น).
  38. อุกฺกูร : ก. สูงลาดขึ้น, เป็นเนินลาด, ลาดชัน, ตลิ่งสูง
  39. อุกฺโกเฏติ : ก. รื้อฟื้น, ยกขึ้นมาพิจารณาใหม่, คดโกง
  40. อุกฺขิปติ : ก. ยกขึ้น, เพิกขึ้น, ขว้างทิ้ง, ยกวัตร, ยักคิ้ว
  41. อุกฺขิปน : นป. การยกขึ้น, การเพิกขึ้น, การขว้างทิ้ง, การยกภิกษุผู้มีอธิกรณ์ออกจากหมู่
  42. อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.
  43. อุคฺคจฺฉติ : ก. ขึ้นไป, โผล่ขึ้น, เหาะขึ้น
  44. อุคฺคต : กิต. ขึ้นไปแล้ว, งอกขึ้นแล้ว, สูง, เลิศ
  45. อุคฺคติ : อิต. การขึ้นไป, โผล่ขึ้น, ปรากฏ
  46. อุคฺคม : (วิ.) ขึ้นไป, ไปสูง, ไปในเบื้องบน, บินไป.
  47. อุคฺคมน : (นปุ.) การขึ้นไป, ฯลฯ, การเกิดขึ้น, การยกขึ้น, ทิศเบื้องบน. อุปุพฺโพ, คมฺ คมเน อ, ยุ. ซ้อน คฺ.
  48. อุคฺฆฏิต : ค. ถูกยกขึ้น, ฉลาด, มีปัญญา
  49. อุคฺฆฏิตญฺญู : ค. ผู้พอยกขึ้นแสดงก็รู้ทันที, ผู้มีปัญญาเฉียบแหลม
  50. อุคฺฆติตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งธรรมอันท่านยกหัวข้อขึ้น แสดงแล้ว, ผู้รู้ธรรมพอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดง, อุคฆติตัญญู (พอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดงก็เข้าใจ แล้ว).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-638

(0.0688 sec)