Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ช้างเท้าหน้า, เท้า, หน้า, ช้าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ช้างเท้าหน้า, 676 found, display 451-500
  1. ราชวยฺห : ป. ช้างพระที่นั่ง
  2. ราชาหส : ป. ราชหงส์, หงส์ซึ่งมีปากและเท้าแดง
  3. ลฏฺฐิ, - ฐิกา : อิต. ไม้ถือ, ไม้เท้า; ต้นไม้อ่อน, หน่อไม้
  4. วงฺก : ๑. ค. คด, งอ, โค้ง; ๒. นป. ชื่อภูเขา; กีบเท้าสัตว์, เบ็ด
  5. วสฺสาน : ป. ฤดูฝน, หน้าฝน
  6. วิปาทิกา : อิต. โรคเท้าแตก
  7. สกฺขิ : อ. เผชิญหน้า
  8. สงฺโกจ : ป. การเบี้ยวบูด, การสยิ้วหน้า; รูปวิบัติ
  9. สงฺขล : นป. เครื่องผูกตีนช้าง
  10. สนฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ตั้งพร้อม, โรงรับแขก. สนฺถ สำเร็จรูปมาจาก สํ บทหน้า ถา ธาตุ อ ปัจ.
  11. สนฺนิธิ : (ปุ.) การรวบรวม, การใก้ลเคียง, การปรากฏเฉพาะหน้า, การสะสม, การสั่งสม, การนับเนื่อง, ความรวบรวม, ฯลฯ. อิ ปัจ. ที่ใกล้ ความประจักษ์ ก็แปล. ส. สนฺนิธิ.
  12. สปฺปฏิภย : ค. มีอันตรายเฉพาะหน้า, เป็นไปกับด้วยอันตราย
  13. สปิฎภย สปฺปฎิภย : (วิ.) มีภัยเฉพาะ, มีภัยเฉพาะหน้า, มีภัยจังหน้า.
  14. สพฺพภุมฺม : (ปุ.) สัพพภุมมะ ชื่อช้างประจำทิศอุดร.
  15. สมฺปยาต : กิต.ไปข้างหน้า, เดินต่อไป
  16. สมฺปราย : (ปุ.) ปรโลกอัน...พึงถึงในเบื้องหน้าพร้อม, โลกอันสัตว์พึงถึงในเบื้องหน้า, โลกหน้า, ภพหน้า, ปรโลก. สํ ปเร ปุพฺโพ, อยฺ คตยํ, อ.
  17. สมฺปรายิก : (วิ.) อันเป็นไปในโลกอันสัตว์พึงถึงในเบื้องหน้า, ฯลฯ, อันเป็นไปในปรโลก.
  18. สมฺมุข : (วิ.) มีหน้าเฉพาะ, เฉพาะหน้า, ตรงหน้า, พร้อมหน้า.
  19. สมฺมุขฏฐาน : (นปุ.) ที่มีหน้าเฉพาะ, ที่ตรงหน้า, ที่พร้อมหน้า.
  20. สมฺมุขตา : (อิต.) ความพร้อมหน้า.
  21. สมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, พร้อมหน้า, ในที่พร้อมหน้า, ในที่เฉพาะหน้า. นิบาตลงในอรรถสัตมี. รูปฯ ๒๘๒.
  22. สมฺมุขี : (วิ.) ผู้มีหน้าพร้อม, ผู้พร้อมหน้า.
  23. สมฺมุขีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีหน้าพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมหน้า, ความเป็นผู้พร้อมหน้า.
  24. สมฺมุขีภูต : (วิ.) เป็นผู้มีหน้าพร้อมเป็นแล้ว, เป็นผู้พร้อมหน้าเป็นแล้ว.
  25. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  26. สลฺลกี : (อิต.) อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยา, ช้างน้าว.
  27. สลฺลหุก : (วิ.) เบา, เบาพร้อม (คือ เบากาย เบาจิต), กระปี้กระเปร่า. สํปุพฺโพ, สํฆฺ คติโสสเนสุ, โก. ลง อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ลบนิคคหิตที่ธาตุ แปลง ฆ เป็น ห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ แปลงนิคคหิตที่บทหน้าเป็น ล.
  28. สหพฺย : (ปุ.) มิตร, สหาย, เพื่อน. สหปุพฺโพ, เ พฺย ปวตฺติยํ, อ. ลบสระหน้า คือ เอ.
  29. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  30. สาติ : (อิต.) สาติ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๕ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดวง, ดาวช้างพัง. วิ. สาติ สุภาสุภนฺติ สาติ. สา ตนุกรเณ, ติ.
  31. สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
  32. สิตปณฺณาส : (ปุ.) แมงลัก ชื่อผัก ใบคล้ายโหระพา กินได้ทั้งใบและเม็ด เม็ดนั้นแช่น้ำกินกับน้ำกะทิหวาน, อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยาไทย, ผักบุ้งรวม ชื่อผักบุ้งชนิดหนึ่ง ต้นเปนขนใบเล็กรสชมใช้ทำยาไทย. วิ. สิดต สุกฺโก ปณฺราโส สิตฺปณฺณาโส.
  33. สิโรเวฐน : (นปุ.) ผ้าโพกหัว, จอม, มงกุฎ, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ยมีกรอบหน้า), อุณหิส (กรอบหน้า) มงกุฎา. วิ. สิรโส เวฐนํ สิโรเวฐนํ.
  34. สีปที : (ปุ.) คนเท้าปุก, คนเท้าทู่. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  35. สุปฺปตึก : (ปุ.) สุปปตีกะ ชื่อช้างประจำทิศอีสาน เป็นทิศที่ ๘ ใน ๘ ทิศ.
  36. เสตวรรณ เสตหฺถี : (ปุ.) ช้างเผือก.
  37. โสณฺฑ : (ปุ. นปุ.) งวงช้าง. โสณฺ คติยํ, โฑ. โสฑฺ คพฺเภ วา, โณ, นิคฺคหิตาคโม. เป็น โสณฑา (อิต.) บ้าง.
  38. หตฺถตฺถร : ป. ที่รองหลังช้าง
  39. หตฺถปฺปาทจฺเฉทาทิ : (วิ.) มีอันตัดซึ่งมือและเท้าเป็นต้น.
  40. หตฺถาจริย : (ปุ.) หมอช้าง, ควาญช้าง, นายหัตถาจารย์.
  41. หตฺถาชานิย หตฺถาชาเนยฺย : (ปุ.) ช้างอาชาไนย.
  42. หตฺถานิก : ป. กองทัพช้าง, พลช้าง
  43. หตฺถาโรห : (ปุ.) ควาญช้าง, นายควาญช้าง. วิ. หตฺถึ อารูหตีติ หตฺถาโรโห. หตฺถีปุพฺโพ, รุหฺ รุฬฺหเน, โณ. กองช้าง ก็แปล.
  44. หตฺถิก : (ปุ.) ตุ๊กตาช้าง. หตฺถี+ก ปัจ. ลงในอรรถเปรียบเทียบ รัสสะ อี เป็น อิ. สัตว์นี้เพียงดังช้าง วิ. หตฺถี อิว อยํ สตฺโต หตฺถิโก.
  45. หตฺถิกลก หตฺถิกุลภ : (ปุ.) ช้างสะเทิน (สะเทิน คือรุ่น), ช้างรุ่น. หตฺถี+กลภ ศัพท์หลังแปลง อ เป็น อุ.
  46. หตฺถิกลภ : ป. ลูกช้าง
  47. หตฺถิกุมฺภ : ป. ตระพองช้าง
  48. หตฺถิโคปก หตถิป หตฺถิบาล : (ปุ.) คนผู้รักษาช้าง, คนเลี้ยงช้าง, ควาญช้าง, นายควาญช้าง. คุปฺ รกฺขเณ, โณ, สตฺเถ โก. ปา ปาลฺ วา รกฺขเณ, โณ.
  49. หตฺถิฆฎา : (อิต.) ฝูงแห่งช้าง, โขลงแห่งช้าง, ฝูงช้าง, โขลงช้าง. วิ. หตฺถีนํ สมูโห ฆฎา หตฺถิฆฎา.
  50. หตฺถิฉาป หตฺถิจฉาป : (ปุ.) ช้างผู้ลูกน้อย, ลูกช้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-676

(0.0488 sec)