Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งเวลา, เวลา, ตั้ง , then ตง, ตั้ง, ตั้งเวลา, เพลา, วลา, เวล, เวลา, เวฬา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งเวลา, 633 found, display 551-600
  1. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  2. อารญฺญก, - ญก : ค. ผู้อยู่ป่า, ผู้มีปกติอยู่ในป่า, ตั้งอยู่ในป่า, เกิดอยู่ในป่า
  3. อารญฺญิก : (วิ.) แปลและตั้งวิ. เหมือนอารญฺญกณิก ปัจ.ตรัท๎ยาทิตัท.รูปฯ ๓๖๐.
  4. อารตฺต : นป. เวลา, กาล เช่น วสฺสารตฺต = ฤดูฝน
  5. อารทฺธจิตฺต : ค. มีจิตอันปรารภความเพียรแล้ว, มีจิตตั้งไว้แล้ว
  6. อารทฺธวิริย : ค. ผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว, ผู้เริ่มตั้งความเพียร
  7. อาโรปน : (นปุ.) การยกขึ้น, การเนา (เย็บห่าง ๆ พอให้อยู่เป็นเนา).อาบทหน้า รุปฺธาตุในความตั้งไว้ยุ ปัจ.
  8. อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
  9. อาสตฺติ : (อิต.) ความตั้งหน้า, ฯลฯ. ติ ปัจ.
  10. อาสนฺนกมฺม : (นปุ.) กรรมที่ทำเมื่อใกล้จุติ, การระลึกถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดีในเวลาใกล้จุติ ชื่อว่า อาสันนกรรม อีกอย่างหนึ่ง การทำดี หรือการทำไม่ดีเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า อาสันนกรรม วิ. อาสนฺเน อนุสฺสริตํ อาสนฺนํ, อาสนฺเน วา กตํ อาสนฺนํ. อาสนฺนํ กมฺมํ อาสนฺนกมฺมํ.
  11. อิตฺตรกาล : ป. เวลาอันสั้น
  12. อิสฺส : (ปุ.) อิสสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อิสฺ อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส. ไม่ลบ ที่สุดธาตุ. ถ้าตั้ง อีสฺ ก็รัสสะ อี เป็น อิ.
  13. อุกฺกชฺชติ : ก. หงาย, หงายขึ้น, ตั้งขึ้น
  14. อุกฺกณฺณ : ค. มีหูชัน, มีหูตั้งขึ้น
  15. อุกฺกุชฺช : ค. หงาย, หงายขึ้น, ตั้งขึ้น
  16. อุกฺกุชฺเชติ : ก. หงาย, ให้ตั้งขึ้น, เปิดเผย
  17. อุฏฐหติ : ก. ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, ก่อ, พยายาม, ขยัน
  18. อุฏฐาน : นป. การลุกขึ้น, ความพยายาม, การเริ่มตั้งความเพียร, ความบากบั่นของบุรุษ
  19. อุฏฺฐาน : (นปุ.) การลุกขึ้น, การตั้งขึ้น, การลุกรับ, การออดก (จากครรภ์), การคลอด ลูก, ความขยัน, ฯลฯ. ความเพียรเป็นเครื่อง ลุกขึ้น. อุปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, ยุ, ฏฺสํ โยโค. ส. อุตฺถาน.
  20. อุฏฺฐา น : (วิ.) ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, กล้า, ขยัน, หมั่น, เพียร.
  21. อุฏฐาเปติ : ก. ให้ลุกขึ้น, ให้ตั้งขึ้น; สนทนา
  22. อุฏฐิต : ๑. กิต. ตั้งขึ้นแล้ว, ลุกขึ้นแล้ว; ๒. ค. ผู้ขยัน, ผู้ลุกขึ้นประกอบการงาน
  23. อุตฺตรกาล : (ปุ.) เวลาต่อไป, การต่อไป.
  24. อุตุก : ค. เหมาะแก่ฤดู, เหมาะแก่เวลา, ควรแก่กาล
  25. อุตุกาล : ป. กาลมีระดู, เวลามีประจำเดือน
  26. อุตุสปฺปาย : ป. ฤดูที่สบาย, เวลาที่สะดวกสบาย
  27. อุทณฺหสมย : ป. เวลารุ่งอรุณ
  28. อุทฺทิฏฐ : กิต. ชี้แจง, ยกขึ้นอ้าง, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
  29. อุทฺทิสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, นัดหมาย, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
  30. อุทฺเทสิก : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, ฯลฯ, อุทเทส อุเทส (จัดอย่างหัวข้อที่ตั้งไว้ สังเขปรวม เป็นข้อ ๆ ไว้ การสอนหรือการเรียนบาลี). อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสเน, โณ, ทฺสํโยโค.
  31. อุทย : (ปุ.) การขึ้น, การตั้งขึ้น, การโผล่ขึ้น, การเกิดขึ้น, อุทัย ชื่อภูเขาข้างบูรพทิศ, อุทัย การโผล่ขึ้นแห่งดวงอาทิตย์. อุปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ, ทฺอาคโม. ส. อุทย.
  32. อุทยพฺพย : (นปุ.) ความตั้งขึ้นและความเสื่อม ไป, ความเกิดและความดับ. อุทย+วย แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ.
  33. อุทหารก : (วิ.) ผู้ขุดร่องน้ำ, ผู้นำน้ำไป, ผู้นำ น้ำไปด้วยเหมือง. อุทกปุพฺโพ, อุทปุพฺโพ วา, หรฺ หรเณ, ณฺวุ. ถ้าตั้งอุทก เป็น บทหน้า พึงลบ ก.
  34. อุท อุทก : (นปุ.) น้ำ. วิ. อุทติ อุทฺทติ วา ทฺรวํ กโรตีติ อุทํ อุทกํ วา. อุทิ อุทฺทฺ วา ปสวนเกฺลทเนสุ, อ, โก. ถ้าตั้ง อุทฺทฺ ลบ ทฺ สังโยค. ศัพท์หลังลง ณฺวุ ปัจ. ก็ได้. ส. อุท อุทก.
  35. อุปฏฐเปติ : ก. เข้าไปตั้งไว้, วางไว้, เตรียมไว้, ให้รับใช้, ให้คอยปฏิบัติ, ให้อุปสมบท
  36. อุปฏฐาเปติ : ก. ให้เข้าไปตั้งไว้, ให้เข้าไปคอยปฏิบัติ, ให้เข้าไปบำรุง
  37. อุปฏฐิต : กิต. ถูกตั้งไว้แล้ว, ถูกตระเตรียมแล้ว, เข้าไปใกล้แล้ว, เข้าไปปฏิบัติแล้ว
  38. อุปฏเฐติ : ก. ให้รับใช้, ให้เคารพ, ตั้งวางไว้
  39. อุปทหติ : ก. ให้, จัดหา, ทำ, ตั้งมั่น, เข้าไปตั้งไว้, เข้าไปทรงไว้
  40. อุปธิ : (ปุ.) รูป, ร่าง, ร่างกาย, จักร, กิเลส เครื่องยังทุกข์ให้เข้าไปตั้งไว้, กิเลสเครื่อง เข้าไปทรง, กิเลสเครื่องทรงทุกข์ไว้, กิเลส ชื่ออุปธิ, กิเลศ, ความพัวพัน. อุปปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. ส. อุปธิ.
  41. อุปนิกฺขิตฺต : กิต. ถูกวางไว้แล้ว, ถูกตั้งไว้แล้ว
  42. อุปนิกฺขิปติ : ก. วางลง, ตั้งไว้, ตั้งไว้ข้างๆ
  43. อุปนิกฺขิปน : นป. การวางลง, การตั้งไว้, การวางดักไว้
  44. อุปนิกฺเขป : ป. การวางไว้ใกล้, การตั้งไว้ใกล้, การให้คำมั่นสัญญา, การวางประกัน, การหยิบเอาไปวางเปรียบเทียบ
  45. อุปมาน : (นปุ.) ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ. การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบเทียบ, อุปมา, อุปมาน. วิ. อุปมียเต เยน ตํ อุปมานํ. รูปฯ ๕๒๐ วิ. อุปมียติ เอเตนาติ อุปมานํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ. อุปมาน ชื่อ ของการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาจาก ข้อเท็จจริงที่เหมือนกันหลายอย่าง แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น. ส. อุปมาน. อุปเมยฺย (ปุ.?) อุปไมย คือสิ่งที่จะหาสิ่งอื่น มาเปรียบเทียบได้ สิ่งที่เปรียบได้. ส. อุปเมย.
  46. อุปริฏฐ : ค. สูงสุด, ตั้งอยู่บน
  47. อุปสณฺฐปณา : อิต. การหยุดอยู่, การตั้งไว้
  48. อุพฺพาสียติ : ก. อันเขาไม่ตั้งหลักแหล่ง, อันเขาไม่ทอดทิ้ง
  49. อุพฺเพชนิย อุพฺเพชนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่ง ความหวาดเสียว, ฯลฯ.
  50. อุพฺภฏฐก : ค. ซึ่งตั้งตรง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-633

(0.0473 sec)