Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ธารา , then ธาร, ธารา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ธารา, 121 found, display 51-100
  1. กฐินุพฺภาร : ป. ดู กฐินุทฺธาร
  2. กนฺธรา : (อิต.) คอ วิ. กํ สีสํ ธรตีติ กนฺธรา. กปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ส. กนฺธร.
  3. ขนฺธ : (ปุ.) ขันธะ ขันธกุมาร ชื่อของขันธกุมาร ๑ ใน ๓ ชื่อ อีก ๒ ชื่อคือ กุมาร สตฺติธร. วิ. ขณฺฑติ ทานผลนฺติ ขนฺโธ. ขฑิ ขณฺเฑ, อ, ฑสฺส ธตฺตํ. ขํ สคฺคํ ธาติ วิทธาตีติ วา ขนฺโธ. ขปุพฺโพ ธา ธารเณ, อ, นิคฺคหิตา คโม.
  4. เขตฺตาชีว เขตฺตาชีวี : (ปุ.) ชาวนา (ผู้มีอาชีพ ทำไร่ทำนา), คนผู้เลี้ยงชีวิตด้วยที่ดิน. วิ. ตฺเตน ชีวตีติเขตฺตาชีโว. เขตฺตสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ลง อี ปัจ.
  5. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  6. ชิวฺหา : (อิต.) ลิ้น ( อวัยวะสำหรับลิ้มรส ) วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชิวฺหา. ชีวิตนิมิตฺตํ รโส ชีวิตํ นาม, ตํ อวฺหยตีติ วา ชิวฺหา. ชีวฺ ปาณธารเณ, โห, รสฺสตฺตํ. ส. ชิวฺหา.
  7. ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
  8. ตรี : (ปุ. อิต.?) เครื่องนุ่งห่ม, ทางเดิน. ตรฺ ธารเณ, อี.
  9. ติโรธาน : (นปุ.) การปิด, การกำบัง. วิ. ติโร. ธรตีติ ติโรธานํ. ติโรปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ.
  10. ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
  11. ทธิ : (นปุ.) นมส้ม, นมเปรี้ยว. วิ. ฆต มาทธาตีติ ทธิ. ธา ธารเณ, อิ. เท๎วภาวะ ธา รัสสะ แปลง ธ เป็น ท. สัททนีติ วิ. ชนสฺส ตุฏฺฐึ ทธเตติ มธฺ ธารเณ, อิ.
  12. ทลามล : (ปุ.) ต้นไม้. วิ ทลํ อามลติ รฤขตีติ ทลามโล (ทรงคือรักษาความสดชื่นไว้). มลฺ ธารเณ, อ.
  13. ทห : (ปุ.) สระ (ที่ขังน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งเป้นเอง หรือคนขุด), บึง. วิ. อุทกํ ทธาตีติ ทโห. ทหฺ ธารเณ, อ. ทธฺ รเณวา, อ, ธสฺสโห.
  14. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  15. ธย ธาย : (ปุ.) เจ้าหนี้. ธา ธารเณ, อ. แปลง อา เป็น อิ แปลง อิ เป็น ย ศัพทฺหลังแปลง อา เป็น อาย.
  16. ธร : (นปุ.)การทรงไหว้,การยืดไว้,การถือไว้.ธรฺธารเณ,อ,ยุ. (ปุ.) ธรร
  17. ธรณี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, โลก. วิ. สพฺพโลกํ ธรตีติ ธรณี ธรฺ ธารเณ, อณี. ไม่ลบ ณฺ หรือ ยุ ปัจ. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓ ลง อิ ปัจ. เป็น ธรณิ ธรณ+อิปัจ. ส. ธรณิ, ธรณี.
  18. ธาตุ : (วิ.) ผู้ทรงไว้. ธา ธารเณ, ดุ. ผู้ตั้งไว้, ผู้ดำรงอยู่. ฐา คตินิวุตฺติยํ, ตุ. แปลง ฐา เป็น ธา.
  19. ธานา : (อิต.) ข้าวตอก, ข้าวเหนียว. ธา ธารเณ, ยุ, อิตฺถิยํ อา. ส. ธานา.
  20. ธานี : (นปุ.)เมือง,ธานี,ธานิน.ธาธารเณ,โน,อิตฺถิยํอี.ศัพท์หลังนิยปัจ.ธานีเมื่อเข้าประโยคจะเป็นศัพท์สมาสเสมออุ.ราชธานี.ส.ธานี.
  21. ธิ : (อิต.) คุณชาติผู้ทรงไว้ซื่งประโยชน์, ปรีชา, ปัญญา. วิ. อตฺถํ ธาเรตีติ ธิ. ธา ธารเณ, อิ.
  22. ธิติ : (อิต.) ความทรงไว้, ปัญญาเป็นเครื่อง ทรง, ปัญญา, ธา ธารเณ, ติ. แปลง อา เป็น อิ.
  23. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  24. ธีตุ : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว, ธิดา. วิ. มาตา ปิตูหิ ธรียเตติ ธีตา ธรฺ ธารเณ, ริตุ, อิ การสฺส ทีโฆ, ลบ ที่สุด ธาตุ และลบ รฺ ตัว ปัจ.
  25. ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
  26. ธีรวร : (ปุ.) ประมง (การจับสัตวน้ำ) ปะมง ประโมง ก็ใช้, คนจับปลา, ชาวประมง วิ. ชาลกุมินาทีนิ ธาเรตีติ ธีวโร. ธา ธารเณ, อีวโร. ส. ธีวนฺ, ธีวร.
  27. ธุ : (ปุ.) ภาระ (หน้าที่ที่ต้องรับเอา), ธา ธารเณ, อุ.
  28. นิธาน : (นปุ.) การฝัง, การเก็บ, การเก็บไว้, การบรรจุ การตั้งมั่น, หลักฐาน, ขุมทรัพย์. นิปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ. ส. นิธาน.
  29. นิธิ : (ไตรลิงค์) สมบัติอัน...พึงฝังไว้, ทรัพย์ อัน...พึงฝังไว้, ทรัพย์ที่รวบรวมไว้เป็นปึก แผ่น, ขุม, ขุมทรัพย์, บุญ. วิ. นิธียตีติ นิธิ. นิปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ เป็น ปุ. โดยมาก. นิธิ.
  30. ปทหน : (นปุ.) อันตั้งอยู่, การตั้งอยู่, ความตั้งอยู่. ปปุพฺโพ, ทหฺ ธารเณ, ยุ.
  31. ปริกฺขก : (วิ.) ผู้พิจารณาเหตุผลได้รวดเร็ว, ผู้ พิจารณาเหตุผลได้รวดเร็วทันที, ผู้รู้เหตุ รวดเร็ว วิ. ปริกฺขเต อวธารยเต ปมาเณหิ อตฺถ มิติ ปริกฺขโก, ณฺวุ ปัจ. อภิฯ
  32. ปริธี : (ปุ.) รัศมีกลม, รัศมีทรงกลม, แสงทรง กลม, แสงทรงกลด คือแสงเลื่อมพรายงาม เป็นวงกลมรอบดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์. วิ. สุริยสฺส จนฺทสฺส วา ปริ สมนฺตโต ธียเตติ ปริธี. ปริปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อี.
  33. โปฏฺฐก : (ปุ. นปุ.) ใบลาน, ปุสุ ธารเณ, โต. สตฺเถ โก.?
  34. พาณธี : (ปุ.) แล่งธนู, แล่งปืน. วิ. พาณา ธียนฺตฺยเตฺ-รติ พาณธี. ธา ธารเณ, ณี.
  35. ภิงฺการ ภิงฺคาร : (ปุ.) คนทีน้ำ, คนโทน้ำ, เต้า (หม้อน้ำ), น้ำเต้า, เต้าน้ำ, เต้าน้ำทอง, หม้อน้ำ, ภาชนะทอง. วิ. ภรติ อุทกมิติ ภิงฺการโร. ภรฺ ภรเณ ธารเณ จ, อาโร. แปลง ภรฺ เป็น ภึก.
  36. ภูธร : (ปุ.) เขา, ภู, ภูเขา. วิ. ภํ ภูมึ ธรตีติ ภูธโร. ภูปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ. ไทยใช้ภูธร เป็นพระนามของพระเจ้าแผ่นดินตามความหมายของสันสกฤต.
  37. มญฺจ มญฺจก : (ปุ.) แท่น, แคร่, เตียง, ที่นอน. วิ. มญฺจติ ปุคฺคลํ ธาเรตีติ มญฺโจ มญฺจโก วา. มจิ ธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  38. มลย : (ปุ.) มลยะ ชื่อภูเขาอยู่ทางอินเดียตอนใต้ อุดมด้วยไม้จันทน์, ภูเขาไม้จันทน์, อาราม, อารามดอกไม้ เป็นต้น, สวนดอกไม้, ไม้จันทน์. มลฺ ธารเณ, โย.
  39. มลฺลก : (ปุ.) ชาม, ถ้วย, จาน, ขันน้ำ. มลฺลฺ ธารเณ, ณฺวุ. มถฺ วิโลฬเน วา, อ, ถสฺส ลลาเทโส, สกตฺเถ โก. อภิฯ.
  40. มลฺลิกา : (อิต.) มัลลิกา ชื่อพระมเหสีของพระเจ้าแผ่นดิน, ดอกมะลิ, มะลิซ้อน, ต้นมะลิ. วิ. มลฺยเต สพฺเพหีติ มลฺลิกา. มลฺลฺ ธารเณ, อิ, สกตฺเถ โก, อิตฺถิยํ อา.
  41. มาลา : (อิต.) ระเบียบ, แถว, แนว, ถ่องแถว, โครง, แผน, หมวด, สาขา, สร้อยคอ, สาย, ดอกไม้, พวง, พวงดอกไม้. วิ. มียติ ปริมียตีติ มาลา. มา มาเน, โล, อิตฺถิยํ อา. มลฺ ธารเณ วา, อ. มา ภมรา ลสนฺติ เอตฺถ ปิวเนนาติ วา มาลา, มาปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, กฺวฺ ลบที่สุดธาตุ.
  42. มาลูร : (ปุ.) มะตูม. มลฺ ธารเณ, อูโร. เป็น มาลุร ก็มี.
  43. สนฺธ : (ปุ.) การต่อ, การเชื่อม, สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ,อ.
  44. สนฺนิธาน : (นปุ.) การนับเนื่อง, การใกล้เคียง, การสะสม, การสั่งสม, ความนับเนื่อง, ฯลฯ. สํ นิ ปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ. ส. สนฺนิธาน.
  45. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  46. สาธารณ : (วิ.) สามัญ, ทั่วไป. วิ. สมํ อาธาริยนฺติ ตสฺมินฺติ สาธารณํ. สมสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ธารฺ ธารเณ, ยุ. สห ธารเณน วตฺตตีติ วา สาธารณํ (เป็นไปกับด้วยการทรงไว้). สาธารณ์ ไทยใช้เป็นเสสน์ในความว่า ต่ำ, เลว ด้วย. ส. สามานฺย.
  47. สิโรธรา : (อิต.) คอ วิ. สิรํ ธรตีติ สิโรธรา. สิรปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ, อิตฺถิยํ อา. สิโร ธิยฺยเต อสฺสนฺติ วา สิโรธรา. ธา ธารเณ, อโร.
  48. สีวถิกา สีวฎฺฐกา : (อิต.) ป่าช้าผีดิบ วิ. ฉวา ธียนฺเต อตฺราติ สีวถิกา. ฉวปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ณฺวุ, ฉสฺส โส, อสฺสี, ธสฺส โถ, อสฺสิ, อิตฺถิยํ อา. ศัพท์หลัง แปลง ถิ เป็น ฐ ซ้อน ฎ.
  49. เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
  50. หทย : (นปุ.) ใจ, หัวใจ. วิ. หรติ อตฺตโน อา ธารนฺติ หทยํ. หรฺ หรเณ, โย, รสฺส โท. หทฺ จินฺตายํ วา, อโย. น้ำใจ ก็แปล. ส. หฺฤทย.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-121

(0.0093 sec)