Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มัชฌิมา , then มชฌมา, มชฺฌิมา, มัชฌิม, มัชฌิมะ, มัชฌิมา .

Eng-Thai Lexitron Dict : มัชฌิมา, 1 found, display 1-1

Thai-Eng Lexitron Dict : มัชฌิมา, 6 found, display 1-6
  1. มัชฌิมา : (N) ; middle finger ; Syn:นิ้วกลาง, พระมัชฌิมา ; Samp:เจ้าหญิงทรงพระธำมรงค์มรกตประจำราชวงศ์บนพระมัชฌิมา
  2. มัชฌิมา : (ADJ) ; moderate ; Related:middle ; Syn:ปานกลาง, มัชฌิม ; Samp:เวลาจะทำอะไร เราควรยึดหลักมัชฌิมาเอาไว้
  3. มัชฌิมาปฏิปทา : (N) ; middle path ; Related:middle way, moderate practice ; Syn:ทางสายกลาง ; Def:ความประพฤติสายกลาง คือ ไม่ตึงเกินไปและไม่หย่อนเกินไป, ข้อปฏิบัติปานกลาง คือ มรรค 8 ; Samp:มัชฌิมาปฏิปทาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิตที่สำคัญของชาวพุทธ
  4. มัชฌิม : (ADJ) ; middle ; Related:moderate, medium, intermediate, mean ; Syn:กลาง, ปานกลาง ; Samp:ในยามมัชฌิมวัยข้าพเจ้าได้ท่านเจ้าคุณที่คอยปกป้องดูแลรักษา
  5. ทางสายกลาง : (N) ; moderate practice ; Syn:มัชฌิมาปฏิปทา ; Def:วิธีปฏิบัติที่ไม่สุดโต่งไปข้างใดข้างหนึ่ง ; Samp:พระพุทธเจ้าสอนให้มนุษย์เดินอยู่บนทางสายกลาง
  6. มัชฌิมประเทศ : (N) ; Central Indian ; Syn:อินเดียตอนกลาง ; Samp:พระพุทธรูปแบบนี้ เราได้แบบมาจากมัชฌิมประเทศ

Royal Institute Thai-Thai Dict : มัชฌิมา, more than 5 found, display 1-5
  1. มัชฌิมา : ว. ปานกลาง, ไม่ยิ่งไม่หย่อน, เช่น พอเป็นมัชฌิมา. (ราชา) น. นิ้วกลาง เรียกว่า พระมัชฌิมา. (ป.; ส. มธฺยมา).
  2. มัชฌิมา : ดู มัชฌิม-.
  3. มัชฌิมาปฏิปทา : ดู มัชฌิม-.
  4. มัชฌิมาปฏิปทา : น. ทางสายกลาง. (ป.).
  5. กุฎ, กุฎา : [กุด, กุดา] (กลอน) น. ยอด เช่น มัชฌิมากุฎาประมาณ. (สมุทรโฆษ). (ป., ส. กูฏ).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : มัชฌิมา, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : มัชฌิมา, more than 5 found, display 1-5
  1. มัชฌิมา : ท่ามกลาง, กลาง
  2. มัชฌิมะ : ภิกษุผู้มีพรรษาครบ ๕ แล้ว แต่ยังไม่ถึง ๑๐ พรรษา (ต่ำกว่า ๕ เป็นนวกะ, ๑๐ พรรษาขึ้นไปเป็นเถระ)
  3. มัชฌิมาปฏิปทา : ทางสายกลาง, ข้อปฏิบัติเป็นกลางๆ ไม่หย่อนจนเกินไป และไม่ตึงจนเกินไป ไม่ข้องแวะที่สุด ๒ อย่างคือ กามสุขัลลิกานุโยค และ อัตตกิลมถานุโยค, ทางแห่งปัญญา (เริ่มด้วยปัญญา, ดำเนินด้วยปัญญา นำไปสู่ปัญญา) อันพอดีที่จะให้ถึงจุดหมาย คือ ความดับกิเลสและความทุกข์ หรือความหลุดพ้นเป็นอิสระสิ้นเชิง ได้แก่มรรคมีองค์ ๘ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น สัมมาสมาธิเป็นที่สุด
  4. ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร : “พระสูตรว่าด้วยการยังธรรมจักรให้เป็นไป”, พระสูตรว่าด้วยการหมุนวงล้อธรรมเป็นชื่อของ ปฐมเทศนา คือพระธรรมเทศนาครั้งแรก ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ หลังจากนั้น ตรัสรู้ ๒ เดือน ว่าด้วยมัชฌิมาปฏิปทา คือทางสายกลาง ซึ่งเว้นที่สุด ๒ อย่าง และว่าด้วยอริยสัจ ๔ ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ อันทำให้พระองค์สามารถปฏิภาณว่าได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ (ญาณคือความตรัสรู้เองโดยชอบอันยอดเยี่ยม) ท่านโกณฑัญญะหัวหน้าคณะปัญจวัคคีย์ ฟังพระธรรมเทศนานี้แล้ว ได้ดวงตาเห็นธรรม (ธรรมจักษุ) และขอบวชเป็นพระภิกษุรูปแรก เรียกว่า เป็นปฐมสาวก
  5. สุคโต : “เสด็จไปดีแล้ว” คือ ทรงมีทางเสด็จที่ดีงามอันได้แก่อริยมรรค, เสด็จไปด้วยดีโดยชอบ กล่าวคือ ทรงดำเนินรุดหน้าไม่หวนกลับคืนมาสู่กิเลสที่ทรงละได้แล้ว ทรงดำเนินสู่ผลสำเร็จไม่ถอยหลัง ไม่กลับตกจากฐานะที่ลุถึงทรงดำเนินในทางอันถูกต้องคือมัชฌิมาปฏิปทา ไม่เฉเชือนไปในทางผิด คือ กามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค เสด็จไปดี เสด็จที่ใดก็ทรงทำประโยชน์ให้แก่มหาชนในที่นั้น เสด็จไปโดยสวัสดีและนำให้เกิดความสวัสดีแม้แต่พบองคุลิมาลมหาโจรร้าย ก็ทรงกลับใจให้เขากลายเป็นคนดีไม่มีภัยเสด็จผ่านไปแล้วด้วยดี ได้ทรงบำเพ็ญพุทธกิจไว้บริบูรณ์ ประดิษฐานพระพุทธศาสนาไว้ เพื่อชาวโลก ให้เป็นเครื่องเผล็ดประโยชน์แก่ประชาชนทั้งปวงผู้เกิดมาในภายหลัง, ทรงมีพระวาจาดี หรือตรัสโดยชอบ คือ ตรัสแต่คำจริงแท้ ประกอบด้วยประโยชน์ ในกาลที่ควรตรัส และแก่บุคคลที่ควรตรัส (ข้อ ๔ ในพุทธคุณ ๙)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : มัชฌิมา, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : มัชฌิมา, more than 5 found, display 1-5
  1. มชฺฌิมา : (อิต.) นิ้วกลาง, นิ้วนาง. วิ. มชฺเฌ ติฏฺฐตีติ มชฺฌิมา.
  2. มชฺฌิมาปฏิปทา : (อิต.) การปฏิบัติอันมีในท่ามกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง, มัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลางคือมรรค (อริยมรรค) มีองค์ ๘.
  3. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  4. มชฺฌเทส : (ปุ.) ประเทศอันตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, มัชฌิมประเทศ, มัธยมประเทศ.
  5. มชฺฌิมเทส มชฺฌิมปเทศ : (ปุ.) มัชฌิมประเทศ, มัธยมประเทศ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : มัชฌิมา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : มัชฌิมา, 1 found, display 1-1
  1. นิ้วกลาง : มชฺฌิมา

(0.1343 sec)