Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มุทิตา , then มทตา, มุทิตา .

Eng-Thai Lexitron Dict : มุทิตา, 1 found, display 1-1
  1. kindliness : (N) ; ความเมตตากรุณา ; Related:มุทิตา, ความหวังดี ; Syn:amiability, ruthfulness, kindness ; Ant:kindlessness, ruthlessness

Thai-Eng Lexitron Dict : มุทิตา, 5 found, display 1-5
  1. มุทิตา : (N) ; rejoicing with others in their happiness or prosperity ; Related:kindliness, sympathetic joy, feelings of pleasure, gladness of another's success ; Def:ความมีจิตพลอยยินดีในลาภยศสรรเสริญสุขของผู้อื่น เป็นข้อหนึ่ง ในพรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ; Samp:สมาธิภาวนาจะผุดขึ้นเป็นปัญญาให้เราใช้เมตตากรุณาและมุทิตาอย่างเหมาะสม
  2. พรหมวิหาร : (N) ; four principles virtuous existence ; Related:sublime states of mind ; Def:ธรรมของพรหมหรือของท่านผู้เป็นใหญ่ มี 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ; Samp:ผู้บังคับบัญชาควรใช้หลักพรหมวิหารสี่ในการปกครองคน
  3. พระพรหม : (N) ; Brahma ; Syn:พรหม ; Def:ชื่อพระเป็นเจ้าผู้สร้างโลกตามศาสนาพราหมณ์ ; Samp:พระพรหมเป็นมหาเทพผู้มีจิตใจกอปรไป เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขาในทางพระพุทธศาสนาจึงได้เรียกว่าพรหมวิหารสี่ ; Unit:องค์
  4. ปีนเกลียว : (V) ; contradict ; Related:be inconsistent ; Syn:ขัดแย้ง ; Ant:กลมเกลียว ; Def:มีความเห็นไม่ลงรอยกัน, แตกพวกหรือไม่ถูกกัน. ; Samp:หากขาดมุทิตาจิต ในการปฏิบัติงานกับเพื่อนร่วมงานก็จะแย่งกันเอาหน้า แข่งดี แข่งเด่น ปีนเกลียว ทะเลาะเบาะแว้งเป็นศัตรูทำลายล้างกัน
  5. เปรียญธรรม : (N) ; graduation in Buddhist theology ; Related:the highest level of Buddhist dhamma ; Samp:ผู้บวชได้ร่วมมุทิตาสักการะพระภิกษุสามเณรที่สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยคจากทั่วประเทศ

Royal Institute Thai-Thai Dict : มุทิตา, 5 found, display 1-5
  1. มุทิตา : น. ความมีจิตพลอยยินดีในลาภยศสรรเสริญสุขของผู้อื่น เป็นข้อ ๑ ในพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา. (ป.).
  2. พรหมวิหาร : [พฺรมมะ, พฺรม] น. ธรรมของพรหมหรือของท่าน ผู้เป็นใหญ่ มี ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา. (ป.).
  3. เมตตา : น. ความรักและเอ็นดู, ความปรารถนาจะให้ผู้อื่นได้สุข, เป็นข้อ ๑ในพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา. (ป.).
  4. อุเบกขา : น. ความเที่ยงธรรม, ความวางตัวเป็นกลาง, ความวางใจเฉยอยู่, เป็นข้อ ๑ ในพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา. (ป. อุเปกฺขา).
  5. กรุณา : [กะรุนา] น. ความสงสารคิดจะช่วยให้พ้นทุกข์ เป็น ๑ ในพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณามุทิตา อุเบกขา; ใช้ประกอบหน้ากริยาแสดงความขอร้องอย่างสุภาพ เช่น กรุณาส่ง; ใช้ร่วมกับคำ พระ เป็นสรรพนามสําหรับพระเจ้าแผ่นดิน เช่น กราบบังคมทูลพระกรุณา. (ป.).

Budhism Thai-Thai Dict : มุทิตา, 5 found, display 1-5
  1. มุทิตา : ความพลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี, เห็นผู้อื่นอยู่ดีมีสุข ก็แช่มชื่นเบิกบานใจด้วย เห็นเขาประสบความสำเร็จเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป ก็พลอยยินดีบันเทิงใจ พร้อมที่จะส่งเสริมสนับสนุน ไม่กีดกันริษยา; ธรรมตรงข้ามคือ อิสสา (ข้อ ๓ ในพรหมวิหาร ๔)
  2. พรหมวิหาร : ธรรมเครื่องอยู่ของพรหม, ธรรมประจำใจอันประเสริฐ, ธรรมประจำใจของท่านผู้มีคุณความดียิ่งใหญ่ มี ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
  3. เยวาปนกธรรม : “ก็หรือว่าธรรมแม้อื่นใด” หมายถึงธรรมจำพวกที่กำหนดแน่ไม่ได้ว่าข้อไหนจะเกิดขึ้น ได้แก่ เจตสิก ๑๖ เป็นพวกที่เกิดในกุศลจิต ๙ คือ ๑.ฉันทะ ๒.อธิโมกข์ ๓.มนสิการ ๔.อุเบกขา (ตัตรมัชฌัตตตา) ๕.กรุณา ๖.มุทิตา ๗.สัมมาวาจา (วจีทุจริตวิรัติ) ๘.สมมากันมันตะ (กายทุจริตวิรัติ) ๙.สัมมาอาชีวะ (มิจฉาชีววิรัติ) เป็นพวกที่เกิดในอกุศลจิต ๑๐ คือ ๑.ฉันทะ ๒.อธิโมกข์ ๓.มนสิการ ๔.มานะ ๕.อิสสา ๖.มัจฉริยะ ๗.ถีนะ ๘.มิทธะ ๙.อุทธัจจะ ๑๐.กุกกุจจะ นับเฉพาะที่ไม่ซ้ำ (คือเว้น ๓ ข้อแรก) เป็น ๑๖
  4. โสภณเจตสิก : เจตสิกฝ่ายดีงาม มี ๒๕ แบ่งเป็น ก.โสภณสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง) ๑๙ คือ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลางในอารมณ์นั้น ๆ = อุเบกขา) กายปัสสัทธิ (ความคลายสงบแห่งกองเจตสิก) จิตตปัสสัทธิ (แห่งจิต) กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก) จิตตลหุตา (แห่งจิต) กายมุทุตา (ความนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก) จิตตมุทุตา (แห่งจิต) กายกัมมัญญตา (ความควรแก่งานแห่งกองเจตสิก) จิตตกัมมัญญตา (แห่งจิต) กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก) จิตตปาคุญญตา (แห่งจิต) กายชุกตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก) จิตตุชุกตา (แห่งจิต) ข.วีรตีเจตสิก (เจตสิกที่เป็นตัวงดเว้น) ๓ คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ค.อัปปมัญญาเจตสิก (เจตสิกคืออัปปมัญญา) ๒ คือ กรุณา มุทิตา (อีก ๒ ซ้ำกับอโทสะและตัตรมัชฌัตตตา) ง.ปัญญินทรียเจตสิก ๑ คือ ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ
  5. อัปปมัญญา : ธรรมที่แผ่ไปไม่มีประมาณหมายถึง เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ที่แผ่ทั่วไปในมนุษย์และสัตว์ทั้งหลายอย่างกว้างขวางสม่ำเสมอกัน ไม่จำกัดขอบเขต มี ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ที่กล่าวแล้วนั้น ดู พรหมวิหาร

ETipitaka Pali-Thai Dict : มุทิตา, 3 found, display 1-3
  1. มุทิตา : (อิต.) ความพลอยยินดีด้วย, ความยินดีกับเขา.
  2. พฺรหฺมวิหาร : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม, ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่, ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ, พรหมวิหาร ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง มี ๔ ข้อ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา.
  3. มุทุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ความเป็นแห่งคนอ่อนโยน.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : มุทิตา, 1 found, display 1-1
  1. บันเทิง : อาโมทติ, มุทิตา

(0.1324 sec)