Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

Budhism Thai-Thai Dict : , 66 found, display 51-66
  1. ศีล ๘ : สำหรับฝึกตนให้ิ่งขึ้นไปโดรักษาในบางโอกาส หรือมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้ เช่น แม่ชีมักรักษาประจำ หัวข้อเหมือนศีล ๕ แต่เปลี่นข้อ ๓ และเติมข้อ ๖-๗-๘ คือ ๓.เว้นจากประพฤติผิดพรหมจรร์ คือเว้นจากร่วมประเวณี ๖.เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือเที่งแล้วไป ๗.เว้นจากฟ้อนรำ ขับร้อง บรรเลงดนตรี ดูการเล่นอันเป็นข้าศึกต่อพรหมจรร์ การทัดทรงดอกไม้ ของหอม และเคลื่องลูบไล้ซึ่งใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่ง ๘.เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่ หรูหราฟุ่มเฟือ; คำสมาทาน (เฉพาะที่ต่างจากศีล ๕) ว่า ๓.อพฺรหฺมจริา- ๖.วิกาลโภชนา- ๗.นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา- ๘.อุจฺจาสนมหาสนา- (คำต่อท้าเหมือนข้อ ๑ ในศีล ๕); ดู อาราธนาศีล ด้วย
  2. สังฆาทิเสส : ชื่อหมวดอาบัติหนักรองจากปาราชิก ต้องอู่กรรมจึงพ้นได้ คือเป็นครุกาบัติ (อาบัติหนัก) แต่ังเป็นสเตกิจฉา (แก้ไขหรือเาได้); ตามศัพท์ สังฆาทิเสส แปลว่า หมวดอาบัติอันจำปรารถนาสงฆ์ในกรรมเบื้องต้นและกรรมที่เหลอ, หมาความว่า วิธีการที่จะออกจากอาบัตินี้ ต้องอาศัสงฆ์ ตั้งแต่ต้นไปจนตลอด กล่าวคือ เริ่มต้นจะอู่ปริวาส ก็ต้องขอปริวาสจากสงฆ์ ต่อจากนั้น จะประพฤติมานัตก็ต้องอาศัสงฆ์เป็นผู้ให้ ถ้ามีมูลาปฏิกัสสนาก็ต้องสำเร็จด้วสงฆ์อีกและท้าที่สุดก็ต้องขออาภัพภานจากสงฆ์; สิกขาบทที่ภิกษุละเมิดแล้ว จะต้องอาบัติสังฆาทิเสส ใช้เป็นชื่อเรีกสิกขาบท ๑๓ ข้อนี้ด้ว
  3. สังโชน์ : กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ มี ๑๐ อ่าง คือ ก.โอรัมภาคิสังโชน์ สังโชน์เบื้องต่ำ ๕ ได้แก่ ๑.สักกาทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ๒.วิจิกิจฉา ความลังเลสงสั ๓.สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต ๔.กามราคะ ความติดใจในกามคุณ ๕.ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ข.อุทธัมภาคิสังโชน์ สังโชน์เบื้องสูง ๕ ได้แก่ ๖.รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต ๗.อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม ๘.มานะ ความถือว่าตนเป็นนั่นเป็นนี่ ๙.อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน ๑๐.อวิชชา ความไม่รู้จริง; พระโสดาบัน ละสังโชน์ ๓ ข้อต้นได้, พระสกิทาคามี ทำสังโชน์ข้อ ๔ และ ๕ ให้เบาบางลงด้ว, พระอนาคามี ละสังโชน์ ๕ ข้อต้นได้หมด, พระอรหันต์ ละสังโชน์ทั้ง ๑๐ ข้อ; ในพระอภิธรรมท่านแสดงสังโชน์อีกหมวดหนึ่ง คือ ๑.กามราคะ ๒.ปฏิฆะ ๓.มานะ ๔.ทิฏฐิ (ความเห็นผิด) ๕.วิจิกิจฉา ๖.สีลัพพตปรามาส ๗.ภวราคะ (ความติดใจในภพ) ๘.อิสสา (ความริษา) ๙.มัจฉริะ (ความตระหนี่) ๑๐.อวิชชา
  4. สัตตาวาส : ภพเป็นที่อู่ของสัตว์ มี ๙ เหมือนกับ วิญญาณัฏฐิติ ๗ ต่างแต่เพิ่มข้อ ๕ เข้ามาเป็น ๕.สัตว์เหล่าหนึ่งไม่มีสัญญา ไม่มีการเสวเวทนา เช่นพวกเทพผู้เป็นอสัญญีสัตว์, เลื่อนข้อ ๕-๖-๗ ออกไปเป็นข้อ ๖-๗-๘ แล้วเติมข้อ ๙.สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถึง เนวสัญญานาสัญญาตนะ
  5. สารูป : เหมาะ, สมควร, ธรรมเนีมควรประพฤติในเวลาเข้าบ้าน, เป็นหมวดที่ ๑ แห่งเสขิวัตร มี ๒๖ สิกขาบท
  6. สุชาดา : อุบาสิกาสำคัญคนหนึ่ง เป็นธิดาของผู้มีทรัพ์ซึ่งเป็นนาใหญ่แห่งชาวบ้านเสนานิคม ตำบลอุรุเวลา ได้ถวาข้าวปาาสแก่พระมหาบุรุษในเวลาเช้าของวันที่จะตรัสรู้ มีบุตรชื่อส ซึ่งต่อมาออกบวชเป็นพระอรหันต์ นางสุชาดาได้เป็นปฐมอุบาสิกา พร้อมกับภรราเก่าของพระสะและได้รับ่องเป็นเอตทัคคะ ในบรรดาอุบาสิกาผู้ถึงสรณะเป็นปฐม
  7. สุพาหุ : บุตรเศรษฐีเมืองพาราณสี เป็นสหาของสกุลบุตร ได้ทราบข่าวสกุลบุตรออกบวช จึงได้บวชตามพร้อมด้วสหาอีก ๓ คน คือ วิมละ ปุณณชิ และควัมปติ ได้เป็นสาวกรุ่นแรกที่พระพุทธเจ้าส่งไปประกาศพระศาสนา
  8. สุภัททะ : ปัจฉิมสิกขิสาวก (สาวกผู้ทันเห็นองค์สุดท้า) ของพระพุทธเจ้า เรีกสั้นๆ ว่า ปัจฉิมสาวก เดิมเป็นพราหมณ์ตระกูลใหญ่ ต่อมาออกบวชเป็นปริพาชก อู่ในเมืองกุสินารา ในวันที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน สุภัททปริพาชกได้ินข่าวแล้วคิดว่าตนมีข้อสงสัู่อ่างหนึ่ง อากจะขอให้พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเพื่อแก้ข้อสงสันั้นเสีก่อนที่จะปรินิพพาน จึงเดินทางไปังสาลวัน ตรงไปหาพระอานนท์ แจ้งความประสงค์ขอเข้าเฝ้าพระบรมศาสดา พระอานนท์ได้ห้ามไว้ เพราะเกรงว่าพระองค์เหน็ดเหนื่อู่แล้ว จะเป็นการรบกวนให้ทรงลำบาก สุภัททปริพาชกก็คะั้นคะอจะขอเข้าเฝ้าให้ได้ พระอานนท์ก็ืนกรานห้ามอู่ถึง ๓ วาระ จนพระผู้มีพระภาคทรงได้ินเสีงโต้ตอบกันนั้น จึงตรัสสั่งพระอานนท์ว่าสุภัททะมุ่งหาความรู้ มิใช่ประสงค์จะเบีดเบีนพระองค์ ขอให้ปล่อให้เขาเข้าเฝ้าเถิด สุภัททปริพาชกเข้าเฝ้าแล้ว ทูลถามว่า สมณพราหมณ์เจ้าลัทธิที่มีชื่อเสีงทั้งหลา คือ เหล่าครูทั้ง ๖ นั้น ล้วนได้ตรัสรู้จริงทั้งหมดตามที่ตนปฏิญญา หรือได้ตรัสรู้เพีงบางท่านหรือไม่มีใครตรัสรู้จริงเล พระพุทธเจ้าทรงห้ามเสีและตรัสว่าจะทรงแสดงธรรม คือ หลักการหรือหลักความจริงให้ฟัง แล้วตรัสว่า อริมรรคมีองค์ ๘ หาไม่ได้ในธรรมวินัใด สมณะ (คืออริบุคคลทั้ง ๔) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินันั้น อริมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัใด สมณะก็หาได้ในธรรมวินันั้น อริมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินันี้ สมณะทั้ง ๔ จึงมีในธรรมวินันี้ ลัทธิอื่นๆ ว่างจากสมณะ และตรัสสรุปว่า ถ้าภิกษุทั้งหลาเป็นอู่โดชอบ โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลา เมื่อจบพระธรรมเทศนา สุภัททปริพาชกเลื่อมใสทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระพุทธเจ้าตรัสสั่งพระอานนท์ให้บวชสุภัททะในสำนักของพระองค์ โดประทานพุทธานุญาตพิเศษให้กเว้นไม่ต้องอู่ติตถิปริวาส ท่านสุภัททะบวชแล้วไม่นาน (อรรถกถาว่าในวันนั้นเอง) ก็ได้บรรลุอรหัตตผล นับเป็นพุทธปัจฉิมสักขิสาวก
  9. อธิกรณสมถะ : ธรรมเครื่องระงับอธิกรณ์, วิธีดำเนินการเพื่อระงับอธิกรณ์มี ๗ อ่าง คือ ๑) สัมมุขาวินั วิธีระงับในที่พร้อมหน้า ๒) สติวินั วิธีระงับโดถือสติเป็นหลัก ๓) อมูฬหวินั วิธีระงับสำหรับผู้หาจากเป็นบ้า ๔) ปฏิญญาตกรณะ การทำตามที่รับ ๕) ตัสสปาปิสิกา การตัดสินลงโทษแก่ผู้ผิด (ที่ไม่รับ) ๖) เภุสิกา การตัดสินตามคำของคนข้างมาก ๗) ติณวัตถารกวินั วิธีดุจกลบไว้ด้วหญ้า (ประนีประนอม)
  10. อนาคามิมรรค : ทางปฏิบัติเพื่อบรรลุผล คือ ความเป็นพระอนาคามี, ญาณคือความรู้เป็นเหตุละโอรัมภาคิสังโชน์ได้ทั้ง ๕ (คือ ละได้เด็ดขาดอีก ๒ อ่าง ได้แก่ กามราคะ และปฏิฆะ เพิ่มจาก ๓ อ่างที่พระโสดาบันละได้แล้ว)
  11. อภิญญาเทสิตธรรม : ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงด้วพระปัญญาอันิ่ง หมาถึง โพธิปักขิธรรม ๓๗ ประการ มีสติปัฏฐาน ๔ เป็นต้น
  12. อรูป : ฌานมีอรูปธรรมเป็นอารมณ์ ได้แก่ อรูปฌาน, ภพของสัตว์ผู้เข้าถืออรูปฌาน, ภพของอรูปพรหม มี ๔ คือ ๑) อากาสานัญจาตนะ (กำหนดที่ว่างหาที่สุดมิได้เป็นอารมณ์) ๒) วิญญาณัญจาตนะ (กำหนดวิญญาณหาที่สุดมิได้เป็นอารมณ์) ๓) อากิญจัญญาตนะ (กำหนดภาวะที่ไม่มีอะไรๆ เป็นอารมณ์) ๔) เนวสัญญานาสัญญาตนะ (ภาวะมีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่)
  13. อสีติมหาสาวก : พระสาวกผู้ใหญ่ ๘๐ องค์ บางทีเรีกอนุพุทธ ๘๐ องค์ มีรานามตามลำดับอักษร ดังนี้ (ที่พิมพ์ตัว เอน คือท่านที่เป็นเอตทัคคะด้ว): กังขาเรวต, กัปป, กาฬุทาี, กิมพิล, กุมารกัสสป, กุณฑธาน, คากัสสป, ควัมปติ, จุนท, จูฬปันถก, ชตุกัณณิ, ติสสเมตเต, โตเท, ทัพพมัลลบุตร, โธตก, นทีกัสสป, นันท, นันทก, นันทก, นาคิต, นาลก, ปิงคิ, ปิณโฑลภารทวาช, ปิลินทวัจฉ, ปุณณก, ปุณณชิ, ปุณณมันตานีบุตร, ปุณณสุนาปรันต, โปสาล, พาลุกะ (พักกุละ ก็เรีก), พาหิ ทารุนีริ, ภคุ, ภัททิ (ศากะ), ภัททิ, ภัทราวุธ, มหากัจจาน, มหากัปปิน, มหากัสสป, มหาโกฏฐิต, มหานาม, มหาปันถก, มหาโมคคัลลาน, เมฆิ, เมตตคู, โมฆราช, ส, โสช, รัฏฐปาล, ราธ, ราหุล, เรวตขทิรวนิ, ลกุณฏกภัททิ, วักกลิ, วังคีส, วัปป, วิมล, สภิ, สาคต, สารีบุตร, สีวลี, สุพาหุ, สุภูติ, เสล, โสณกุฏิกัณณ, โสณโกฬิวิส, โสภิต, เหมก, องคุลิมาล, อชิต, อนุรุทธ, อัญญาโกณทัญญ, อัสสชิ, อานนท, อุท, อุทาี, อุบาลี, อุปวาณ, อุปสีว, อุปเสนวังคันตบุตร, อุรุเวลกัสสป
  14. อุททกดาบส : อาจาร์ผู้สอนสมาบัติที่พระมหาบุรุษเสด็จไปศึกษาอู่ด้วคราวหนึ่ง ก่อนที่จะทรงบำเพ็ญทุกรกิริา, ท่านผู้นี้ได้สมาบัติ ถึงขั้นเนวสัญญานาสัญญาตนะ; เรีกเต็มว่า อุททกดาบส รามบุตร
  15. เอกานมรรค : ทางอันแรก คือ ข้อปฏิบัติอันประเสริฐที่จะนำผู้ปฏิบัติไปสู่ความบริสุทธิ์หมดจด หมดความทุกข์ และบรรลุนิพพาน ได้แก่ สติปัฏฐาน ๔; อ่างกว้าง เช่น ในมหานิทเทส หมาถึง โพธิปักขิธรรม ด้ว
  16. 1-50 | [51-66]

(0.0164 sec)