Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สามี , then สะมี, สาม, สามิ, สามี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สามี, 171 found, display 51-100
  1. ตติยฌาน : (นปุ.) ฌานที่สาม, ฌานอันดับที่ สาม.
  2. ติ : (ไตรลิงค์) สาม. ส. ตฺรย ตฺริ ไตฺร.
  3. ติก : (วิ.) สาม. ติ ศัพท์ ก สกัด มีประมาณสาม ติ+ ก ปัจ.
  4. ติโลกเกตุ : (ปุ.) ธงในโลกสาม, ธงชัยในโลก สาม.
  5. สามิภคินี : (อิต.) พี่หญิงของผัว, น้องหญิงของผัว, พี่น้องหญิงของผัว. สามิ+ภคินี.
  6. สามิภาตุ : (ปุ.) พี่ชายของผัว, น้องชายของผัว, พี่น้องชายของผัว. สามิ+ภาตุ.
  7. กติปย : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, ไม่มาก, สองสามสิ่ง, สองสามคน. ส. กติปย.
  8. กติปาห : (นปุ.) วันเล็กน้อย (สองสามวัน).
  9. กติปาห : ก. วิ. สองสามวัน
  10. กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ  คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
  11. กาผิ : (อิต.) กาแฟ. กปุ สามตฺถิเย, ณิ. แปลง ป เป็น ผ.
  12. กุปก : (ปุ.) เสากระโดง. กปุ สามตฺถิยํ, อ. ก สกัด.
  13. ขตฺตุ : ก. วิ. ครั้ง, (ใช้ต่อหลังศัพท์สังขยา เช่น ติกฺขตฺตุ = สามครั้ง)
  14. โคปก โคปาล โคปิล : (ปุ.) คนเลี้ยงสัตว์, คนเลี้ยงโค, นายโคบาล. วิ. คาโว ปาเลตีติ โคปาโล. ศัพท์ต้น โคบทหน้า ปาลฺ ธาตุ ณฺวุ ปัจ. ศัพท์ที่สอง ปาลฺ ธาตุ ณ ปัจ. ศัพท์ที่สาม ปาธาตุ อิล ปัจ.
  15. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  16. จตุตฺถภตฺต : นป. ภัตที่พึงบริโภคในวันที่สี่ (หลังจากที่ได้ถือพรตมาตลอดแล้วสามวัน), อาหารที่บริโภคทุกๆ สี่วัน
  17. ฉกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมหก คือการปรึกษากัน สามคน ได้ยินกันหกหู. วิ. ติณฺณํ ชนานํ วิสยภูโต โส มนฺโต ฉกฺกณฺโณ นาม. ฉ กณฺณา เอตฺถาติ ฉกฺกณฺโณ. มนฺต แปลว่า การปรึกษา. ฉกฺขตฺตุ (อัพ. นิบาต) หกครั้ง, หกคราว, หก หน, สิ้นหกครั้ง,ฯลฯ. ดู จตุกฺขตฺตุ ประกอบ
  18. ญตฺติจตุตฺถกมฺม : (นปุ.) กรรมมีญัตติเป็นที่สี่, การสวดประกาศมีญัตติเป็นที่สี่, ญัตติ จตุตถกรรม (กรรมอันทำด้วยตั้งญัตติแล้ว สวดอนุสาวนาสามหน).
  19. ตติย : (วิ.) ที่สาม, ครบสาม, คำรบสาม. วิ. ติณฺณํ ปูรโณ ตติโย. ติ ศัพท์ ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ติ เป็น ต.
  20. ตติย : ก. วิ. ครั้งที่สาม, คำรบสาม
  21. ตติยคุณ : (ปุ.) คุณชั้นที่สาม, คุณนามชั้นที่ สาม, คือ อติวิเสส.
  22. ตย : (นปุ.) หมวดแห่ง...สาม, หมวดสาม. วิ. ติณฺณํ สมูโห ตยํ. ติโก วา ราสิ ตยํ. ติ. ศัพท์สังขยา ณ ปัจ. สมุหตัท. แปลง อิ เป็น อย รูปฯ ๓๖๔.
  23. ตยี : (อิต.) เวทสาม วิ. ตโย อวยวา อสฺสาติ ตยี. ตโย เวทา ตยี นาม. เป็น ตยิ ก็มี.
  24. ติกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) สิ้นสามครั้ง, สิ้นสาม คราว, สิ้นสามหน. ติ+กฺขตฺตํ ปัจ. รูปฯ ๔๐๓. แปลเป็น กิริยาวิเสสว่า สามครั้ง, สามคราว, สามหน.
  25. ติกฺขตฺตุ : อ. สามครั้ง, สามคราว
  26. ติกฏุก : นป., ค. ของเผ็ดร้อนสามอย่าง ดู กฏุก
  27. ติก, ติกกฏุก : นป., ค. หมวดสาม, อย่างละสาม, ประกอบด้วยสาม
  28. ติคาวุต : ค. ประมาณสามคาวุต
  29. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  30. ติตาลมตฺต : ค. สูงประมาณสามลำตาล
  31. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  32. ติธา : ก. วิ. โดยส่วนสาม, อย่างสาม
  33. ติปิฏก : (นปุ.) ปิฏกสาม, ไตรปิฏก. วิ. ตีณิ ปิฏกานิ ติปิฏกํ.
  34. ติยงฺส : (ปุ.) ส่วนสาม, สามเหลี่ยม. ติ+ อํส ยฺ อาคม.
  35. ติยาม : (ปุ.) ยามสาม.
  36. ติยามรตฺติ : (อิต.) ราตรีมียามสาม, คืนหนึ่ง มียามสาม.
  37. ติโยชน : นป., ค. สามโยชน์; นับได้สามโยชน์
  38. ติโยชนภูมิ : (อิต.) ภาคพื้นมีโยชน์สาม.
  39. ติโยชนสตปริมณฺฑล : (วิ.) มีร้อยแห่งโยชน์ สามเป็นปริมณฑล, มีปริมณฑลสามร้อย โยชน์.
  40. ติรตน : (นปุ.) รตนสาม, พระไตรรัตน์, พระ รัตนตรัย. วิ. ตีณิ รตนานิ ติรตนํ.
  41. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  42. ติลิงฺคิก : (วิ.) อันประกอบด้วยลิงค์สาม, เป็น ไตรลิงค์.
  43. ติโลก : (ปุ.) โลกสาม, ไตรดลก. ส. ตฺรโลกฺย.
  44. ติวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่งวัตถุสามที่ควรแสวง หา ได้แก่ ธัมมะ คือ ห น้าที่ ๑ กามะ ความสุข ๑ อัตถะ ทรัพย์สมบัติ ๑ .
  45. ติวงฺคุล : (นปุ.) องคุลีสาม, สามองคุลี.วิ. ติสฺโส องคุลิโย ติวงฺคุลํ. วฺ อาคม. องฺคุลิยา ภาโว องฺคุลํ. แปลง องฺคุลี เป็น องฺคุล.
  46. ติวิชฺชาทิ : (วิ.) มีวิชชาสามเป็นต้น.
  47. ติวิธ : (วิ.) มีอย่างสาม, มีสามอย่าง.
  48. ติสต : (นปุ.) หมวดสามแห่งร้อย วิ. สตสฺส ติกํ ติสตํ. แปรติก ไว้หน้าและลบ ก รูปฯ ๓๙๙.
  49. ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
  50. ติสรณคต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งสรณะสาม, ผู้มี สรณะสามอันถึงแล้ว.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-171

(0.0334 sec)