Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หนังสือแนะนำ, หนังสือ, แนะนำ , then แนะนำ, หนงสอนนำ, หนังสือ, หนังสือแนะนำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หนังสือแนะนำ, 97 found, display 51-97
  1. ปสาสิต : ค. อันเขาสั่งสอนแล้ว, อันเขาแนะนำแล้ว, อันเขาโอวาทแล้ว, อันเขาปกครองแล้ว
  2. โปตฺถกาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายหนังสือ, ร้านหนังสือ.
  3. พุทฺธเวเนยฺย : ค. ผู้อันพระพุทธเจ้าพอจะแนะนำให้ตรัสรู้ได้
  4. มกฏก มกฺกฏก : (ปุ.) แมงมุม, หนังสือเก่า เป็นแมลงมุม. วิ. มกฺกโฏ วิย สาขายํ อตฺตโน ตนฺตุมฺหิ คจฺฉตีติ มกฺกฏโก. ก ปัจ.
  5. มรณปณฺณ : (นปุ.) หนังสือบอกการตาย.
  6. มิจฉาทิฏฺฐ : (อิต.) ความเห็นผิด, ความเห็นที่ผิด, ลัทธิเป็นเครื่องเห็นผิด. มิจฺฉาทสฺสนํ มิจฺฉาทิฏฺฐ. แก้มิจฉาทิฏฐิ ได้โดย ๑.     ธัมมัสสวนะ ฟังธรรม ฟังบรรยายธรรม จากท่านผู้รู้ถูกต้อง เทศน์สอน อ่านหนังสือธรรม ที่ท่านผู้รู้ถูกต้องเขียน ๒. ธัมมานุสสรณะ หมั่นทบทวนคำสอน ๓.  ธัมมาสากัจฉา สนทนาธรรมกับท่านผู้รู้ถูกต้อง.
  7. ยถานุริตฺต : ก. วิ. ตามคำแนะนำ, ตามคำสั่งสอน
  8. โยชนา : (อิต.) การประกอบ, การผูก, การประสม, การแต่ง, การรวบรวม, โยชนา ชื่อหนังสือที่ท่านแต่งรวบ รวมอรรถบอกวิเคราะห์บอกสัมพันธ์ เป็นต้น.
  9. รจนา : (อิต.) การแต่ง, การร้อยกรอง, การประพันธ์, รจนา (การแต่งหนังสือ). รจฺ ปฏิยตเน, ยุ.
  10. วคฺค : ป. วรรค, พรรค, หมู่, คณะ; วรรคตอนของหนังสือ
  11. วฺยญฺชน : นป. แกง, กับข้าว; ตัวหนังสือ
  12. วินย : ป. ข้อควรแนะนำ, วินัย, ข้อปฏิบัติ, ข้อบังคับ
  13. วินีต : กิต. แนะนำแล้ว, ฝึกแล้ว
  14. วิเนติ : ก. ฝึก, ย่อมแนะนำ
  15. วิเนยฺย : ค. ควรฝึก, ควรแนะนำ
  16. เวเนยฺย : ค. ผู้ควรแนะนำ, ผู้พอสอนได้
  17. เวยฺยคฺฆ : ค. หุ้มด้วยหนังสือ
  18. สภาชน : (นปุ.) การแนะนำ, ความพอใจ, ความสุภาพ, ความมีอัธยาศัย, ความเคารพ, ความสมควร, ความถูกต้อง, ความสมเหตุผล. สภาชฺ ปิติทสฺสเนสฺ ปีติวจเนสุ วา, ยุ.
  19. สโยค : ป. การประกอบ, การสะกดตัวหนังสือ
  20. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  21. สุวินย : (วิ.) ผู้อันบุคคลแนะนำได้โดยง่าย, ผู้สอนง่าย, ผู้ว่าง่าย, ผู้ตัดง่าย, ผู้ฝึกง่าย.
  22. โสธยปณฺณ : (นปุ.) ปรุ๊ฟ คือแผ่นหนังสือที่พิมพ์มาให้เจ้าของต้นฉบับตรวจว่าเรียงถูกต้องตามต้นฉบับหรอไม่.
  23. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  24. อกฺขรผลก : ป. กระดานชนวน, กระดานดำ, แผ่นป้ายสำหรับเขียนหนังสือ
  25. อกฺขรสตฺถ : (นปุ.) คัมภึร์แห่งอักษร, ตำราว่าด้วยอักขระ, ตำราพรรณนาถึงอักษร, อักษรศาสตร์ชื่อตำราว่าด้วยวิชาการทางหนังสือ.
  26. อกฺขรสมย : (ปุ.) การรู้แจ้งในอักขระ, ความรู้แจ้งในอักขระ, อักขรสมัย(วิชาว่าด้วยหนังสือ).
  27. อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
  28. อขุ : (ปุ.) หนังสือ, อักขระ, อักษร, นปุพฺโพ, ขี ขเย, อุ. แปลว่า หนู ก็มี.
  29. องฺกน : (นปุ.) การกำหนด, หมาย (หนังสือเกณฑ์ หรือหนังสือเกาะกุมตัว). เครื่องหมาย, การทำเครื่องหมาย, การประทับตรา.ยุปัจ.
  30. อณฺณ : (ปุ. นปุ.) น้ำ, แม่น้ำ, ต้นสัก, ตัวหนังสือ. อณฺ สทฺเท, อ, ทฺวิตฺตํ (แปลง ณเป็นณฺณ).อรฺ คมเน วา, โต, อนฺนาเทโส (แปลง ต เป็น อนฺน), อนฺนสฺส อณฺณา เทโส (แปลง อนฺน เป็น อณฺณ), รฺโลโป(ลบ รฺ) หรือ แปลง ต เป็น ณฺณ.
  31. อนย : (วิ.) ไม่ควรแนะนำวิ.นเนตพฺพนฺติอนยํ.นปุพฺโพ, นินีวานเย, อ.
  32. อนฺวาทิสติ : ก. แนะนำ, ชี้แจง
  33. อนุเนติ : ก. แนะนำ, ไกล่เกลี่ย, ประสานกัน
  34. อนุเนตุ : ป. ผู้แนะนำ, ผู้ทำให้คืนดีกัน
  35. อนุสิฏฺฐ : กิต. แนะนำแล้ว, ตักเตือนแล้ว
  36. อภิวินย : ป. วินัยชั้นสูง, การแนะนำอย่างดี
  37. อาจรี : ป. การสอน, การแนะนำ
  38. อายาจนปณฺณ : (นปุ.) หนังสือยื่นคำร้อง, ใบยื่นคำร้อง, ฏีกา.
  39. อายุตฺต : (ปุ.) เสมียน( เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับหนังสือ ).อาปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โต.แปลงต เป็นตฺตลบชฺ.
  40. อารนาลอารนาฬ : (นปุ.) น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม(หนังสือเก่าเป็นน้ำส้มประอูม).วิ.อาโรนาโลคนฺโธยสฺสตํอารนาลํอารนาฬํวา.อารานํวาภูมฺยกฺกชานํวาเรสุคติเตนนาเรนชเลนชาตํอารนาลํอารนาฬํวา.
  41. อุกฺกาจนา : อิต. การให้ความสว่าง, การสั่งสอน, การแนะนำ
  42. อุปทิฏฐ : กิต. ชี้แจงแล้ว, แนะนำแล้ว
  43. อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
  44. โอวทติ : ก. แนะนำ, ให้โอวาท
  45. โอวทน : นป. การแนะนำ, การให้โอวาท
  46. โอวทน โอโวทน : (นปุ.) การกล่าวสอน, การสั่งสอน, การสอน,การแนะนำสั่งสอน, คำกล่าวสอน, คำสั่งสอน, คำแนะนำ, คำ แนะนำสั่งสอน, คำตักเตือน. อวปุพฺโพ, วทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ยุ. คำหลัง แปลง อ ที่ ว เป็น โอ.
  47. 1-50 | [51-97]

(0.0364 sec)