Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เจ้าเมือง, เมือง, เจ้า , then จา, จามอง, เจ้, เจ้า, เจ้าเมือง, มอง, เมือง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เจ้าเมือง, 490 found, display 451-490
  1. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  2. อตีรทสฺสี : ค. ซึ่งมองไม่เห็นฝั่ง
  3. อทิสฺสมาน : ค. ไม่ปรากฏ, ซึ่งมองไม่เห็น
  4. อนฺธตมอนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด.วิ. อนฺธญฺจตํตมญฺจาติอนฺธตมํอนฺธนฺตมํ วา
  5. อนฺธตม อนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด. วิ. อนฺธญฺจ ตํ ตมญฺจาติ อนฺธตมํ อนฺธนฺตมํ วา
  6. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  7. อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
  8. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  9. อนุโลกี : ค. เหลียวดู, มองดู
  10. อปจย : (ปุ.) การเคราพ, การบูชา.อปปุพฺโพ, จายุ ปูชายํ, อ. รัสสะอาเป็นอ.ส. อปจย.
  11. อปจายน : (นปุ.) การแสดงความเคราพ, การนับถือ, การประพฤติถ่อมตน, การอ่อนน้อม, ความประพฤติถ่อมตน, ฯลฯ.อป+จายุธาตุ ยุ ปัจ.ส. อปจายน.
  12. อปจิติ : (อิต.) การยำเกรง, ฯลฯ, ความยำเกรง, ฯลฯ.อปปุพฺโพ, จายุปูชายํ, ติ.แปลงอาเป็นอิ ลบที่สุดธาตุ.ส. อปจิติ.
  13. อปโลกี : ค. มองดู, เพ่ง, ระวัง, เตือน
  14. อปโลเกติ : ก. มองดู; บอกลา, อนุญาต, ประกาศให้ทราบ
  15. อปุตฺตกเสฏฐิวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องของเศรษฐีผู้ไม่มีบุตรมีวิ.ตามลำดับดังนี้-นปุพ.พหุพ.นตฺถิตสฺสปุตฺตาติอปุตฺตโกกสกัด.วิเสสนบุพ.กัม.อปุตฺตโก จ โสเสฏฺฐีจาติอปุตฺตกเสฏฺฐี.
  16. อเปขาอเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
  17. อเปขา อเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
  18. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  19. อลกสฺม : (วิ.) ผู้ควรแก่การงาน, ผู้สามารถเพื่ออันทำ, ผู้สามารถเพื่อจะทำ.กสฺมสำเร็จรูปมาจากกรฺธาตุสฺม ปัจ. ลบ รฺ.
  20. อลาต : (นปุ.) ฟืน, ลูกไฟ, ถ่านไฟ, ดุ้นไฟ.วิ.หานิเมวลาตินฐิติวิเสสญฺจาติอลาตํ.นปุพฺโพ, ลาอาทาเน, โต.อลตีติวาอลาตํ.อลฺพนฺธเน, อ, โต.ส.อลาต.
  21. อวโลเกติ : ก. มองดู, ตรวจดู อำลา
  22. อาคตาคต : (วิ.) มาแล้วและมาแล้ว, มาแล้วๆ.วิ. อาคโตจอาคโตจอาคตาคโต. อาคโตจโสอาคโตจาติวาอาคตาคโต.
  23. อาจารโคจรสมฺปนฺน : (วิ.) ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอาจาระอละโคจร.
  24. อาภิสมาจาริก : (นปุ.) ข้อควรประพฤติเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมอันดี, ข้อควรประพฤติเกี่ยวกับมรรยาทอันดี.วิ. อภิสมาจาเรภวํอาภิ-สมาจาริกํ.ณิกปัจ.
  25. อาย : (ปุ.) กำไร(ผลที่เกิดจาการลงทุน). อยฺคมเน, โณ, ส.อาย.
  26. อินฺทุ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์ (ใหญ่กว่า ดาว กล่าวตามที่สายตามองเห็น). วิ. อินฺทติ นกฺขตฺตานํ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ อินฺทุ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อุ. ณุ วา ส. อินฺทุ.
  27. อุจจงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, ส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย (ส่วนใดส่วนหนึ่งก็ได้ สรีระก็ได้). อุจฺจงฺคสทฺโท องฺคสามญฺญวาจโก สรีร- วาจโก วา. วิ. อุสฺสชฺชติ เอตฺถาติ อุจฺจงคํ. อุปุพฺโพ, สชฺ สงฺเค, อ, สสฺส จาเทโส, ทฺวิตฺตํ, ชสฺส โค, นิคฺคหิตาคโม. ฏีกาอภิฯ.
  28. อุจฺจาร : (ปุ.) ขี้, คูถ, อุจจาระ. วิ. อุจฺจารียเตติ อุจฺจาโร. อุปุพฺโพ, จรฺ จชเน,โณ, ส. อุจฺจาร.
  29. อุตฺตมค อุตฺตมงฺค : (นปุ.) อวัยวะสูงสุด, หัว, ศรีษะ. วิ. องฺเคสุ อุตฺตมํคตฺตา อุตฺตมํคํ. อุตฺตมํ จ ตํ อํคํ จาติ วา อุตฺตมํคํ วา. ส. อุตฺตมางฺค.
  30. อุทิกฺขติ : ก. มองดู, ตรวจดู; หวัง; ริษยา
  31. อุทิกฺขิตุ : ป. ผู้มองดู
  32. อุทิกฺขิย : กิต. ได้มองดูแล้ว, ได้เห็นแล้ว
  33. อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
  34. อุลฺโลกก : ค. ผู้มองดู, ผู้ตรวจดู
  35. อุลฺโลกน : นป. การมองขึ้น; หน้าต่าง
  36. อุลฺโลเกติ : ก. มองดู, แลดู, เฝ้าดู
  37. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  38. โอกาสติ : ก. ปรากฏ, มองเห็นชัด
  39. โอโลเกติ : ก. มองดู, ตรวจดู
  40. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-490]

(0.0676 sec)